การแสวงหาข้อมูลข่าวสารในสังคมดิจิทัล
คำสำคัญ:
ดิจิทัล, การแสวงหาข้อมูลข่าวสารบทคัดย่อ
การเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัลส่งผลให้สื่อสังคมออนไลน์เข้ามามีอิทธิพลดึงดูดความสนใจผู้รับสารได้ มากกว่าโทรทัศน์และสิ่งพิมพ์ รวมถึงการทำงานของสื่อมวลชนก็เปลี่ยนไป เนื่องจากผู้รับสารมีพฤติกรรมการเปิดรับสื่อสังคมออนไลน์เพิ่มมากขึ้น ปัจจุบันทุกคนต่างก็สามารถนำเสนอข้อมูลข่าวสาร ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ได้โดยปราศจากการคำนึงถึงกฎหมายและจริยธรรมของสื่อมวลชน อย่างไรก็ตามสื่อมวลชนยังต้องเป็นสื่อมวลชนมืออาชีพด้วยการรายงานข้อเท็จจริงตามหลักการบทบาทหน้าที่ของสื่อมวลชน และหากต้องการให้ประชาชนรู้เท่าทันสื่อมากขึ้น สังคมไทยต้องเปิดข้อมูลที่ทุกคนสามารถนำไปใช้ได้โดยอิสระด้วยการให้เครดิตกระทั่งนำไปสู่ข้อมูลเปิดโดยรัฐบาล ประชาชน รวมถึงสื่อมวลชนก็จะสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ และได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง ส่งผลให้เกิดสังคมข่าวสารในที่สุด และลดข่าวสารที่เป็นเท็จหรือข่าวลวงได้ ในอนาคตสังคมไทยก็จะมีความโปร่งใส มีส่วนร่วมของภาคประชาชน และเป็นการเพิ่มพลังประชาชนให้มีสิทธิตรวจสอบมากขึ้นด้วย
References
ประชาชนกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กรมประชาสัมพันธ์. (2563). คู่มือการปฏิบัติงานของสื่อมวลชนด้านการสื่อสารในภาวะวิกฤต. กรุงเทพมหานคร: เปเปอร์เฮาส์.
จุมพล รอดคำดี. (2561). ประธานกรรมการบริหารองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย. บรรยายพิเศษ.
ดวงพร หมวดมณี. (2553). การแสวงหาข้อมูลข่าวสารและความคาดหวังของผู้ลงทุนซื้อขายหลักทรัพย์ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต. วิทยานิพนธ์วารสารศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
นฤมล เพิ่มชีวิต และพัชนี เชยจรรยา. (2553). การแสวงหาข้อมูลการใช้ประโยชน์และความเชื่อถือในข้อมูล การท่องเที่ยวจากสื่อออนไลน์ที่ผู้บริโภคสร้างเองของคนวัยทำงาน. วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา. 3(1), 99-121.
มานะ ตรีรยาภิวัฒน์. (2553). “เมื่อนักข่าว “ดราม่า” พัฒนาสู่สายพันธุ์ใหม่แบบ Cinematic Journalism และ Emo-Journalism.” เนชั่นออนไลน์. สืบค้นจาก URL : http://www.oknation.nationtv.tv/blog.
ลลิตเทพ ทรัพย์เมือง. (2559). “ทีวีดิจิตอลไม่ง่าย.” ไทยโพสต์ออนไลน์. สืบค้นจาก URL : http://www.thaipost.net.
วราภรณ์ สามโกเศศ. (2559). “รู้จัก Disruptive Technologies.” กรุงเทพธุรกิจออนไลน์. สืบค้นจาก URL : http://www.bangkokbiznews.com.
สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทยและสมาคมนักข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทย. (2557). “เสรีภาพ...บนความรับผิดชอบ.” สมาคมนักข่าว นักหนังสือพิมพ์ออนไลน์. เอกสารแถลงการณ์วันเสรีภาพสื่อมวลชนโลก 3 พฤษภาคม 2557. สืบค้นจาก URL : http://www.tja.or.th/index.php?option=com.
สราวุฒิ ทองคำศรี. (2558). “สรุปการบรรยายหัวข้อ Data Journalism หรือวารสารศาสตร์เชิงข้อมูล.” Bangkok Voice News online. สืบค้นจาก URL : http://www.bangkokvoice.com/2015/09/29/data-journalism/.
สาวิตรี รินวงษ์. (2563). “ถอดบทเรียน “สื่อ” ชิงเรทติ้งจนคลั่ง.” กรุงเทพธุรกิจออนไลน์. สืบค้นจาก URL : http://bangkokbiznews.com.
อัญชุลี วงษ์บุญงาม. (2561). การเปิดรับสื่อและการแสวงหาความรู้ของนักศึกษาสื่อสารมวลชนในเขต กรุงเทพมหานคร. (รายงานวิจัย). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.
Brandbuffe. (2561). “สถิติผู้ใช้ดิจิทัลทั่วโลก ไทยเสพติดเน็ตมากที่สุดในโลก กรุงเทพเมืองผู้ใช้ facebook สูงสุด.” Brandbuffet. สืบค้นจาก URL : https://www.brandbuffet.in.th
Baran, S.J. and Davis, D.K. (1995). Mass Communication Theory. California: Wadsworth Publishing Company.
Bradshaw P. (2010). How to be a data journalist. (Retrieved March 7, 2018) Available from URL : http://www.theguardian.com/news/datablog/2010/oct/01/data-journalism-how-to-guide.
Kovach B. and Rosenstiel T. (2007). The Elements of Journalism. (Retrieved March 13, 2018) Available from URL : http://www.americanpressinstitute.org.
The guardian. (2010). How to begin. (Retrieved March 7, 2018) Available from URL :
http://www.theguardian.com/news/datablog/2010/oct/01/data-journalism-how-to-guide.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร
วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร อยู่ภายใต้การอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License. (CC BY-Nc-ND 4.0) เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอย่างอื่น โปรดอ่านหน้านโยบายของเราสำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเข้าถึงแบบปิด ลิขสิทธิ์ และการอนุญาต