การตัดสินใจใช้บริการร้านอาหารแบบส่งถึงที่ของผู้บริโภคจังหวัดชลบุรี

ผู้แต่ง

  • สุขุมาภรณ์ ปานมาก ภาควิชานิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • ชวนวล คณานุกูล ภาควิชานิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

คำสำคัญ:

ฟูดดิลิเวอรี, ส่วนประสมการตลาด, การเปิดรับสื่อ, การตัดสินใจซื้อ, ชลบุรี

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการอาหารแบบส่งถึงที่ของผู้บริโภค โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจ และเก็บข้อมูลในจังหวัดชลบุรี การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกส์ (Logistic Regression Analysis) ถูกใช้เพื่อทำนายโอกาสของการตัดสินใจใช้บริการอาหารแบบส่งถึงที่ของกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 425 คน ปัจจัยที่ศึกษาประกอบไปด้วย ลักษณะทางประชากร (เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้) ส่วนประสมทางการตลาด (ผลิตภัณฑ์ ราคา ช่องทางการจัดจำหน่าย และการส่งเสริมการขาย) และพฤติกรรมการเปิดรับสื่อ (ออนไลน์ และออฟไลน์) ผลการวิจัยพบว่า ระดับการศึกษา รายได้ และพฤติกรรมการเปิดรับสื่อออนไลน์มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับโอกาสในการตัดสินใจใช้บริการอาหารแบบส่งถึงที่ ขณะที่อายุมีความสัมพันธ์เชิงลบกับในการตัดสินใจใช้บริการ

References

กนกรัตน์ พิชญานุพงศ์. (2548). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจซื้ออาหารเสริมเพื่อสุขภาพของผู้บริโภคในอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.
เกรียงศักดิ์ นาคสะอิ้งศาสน์. (2550). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดและพฤติกรรมในการสั่งซื้ออาหารพร้อมรับประทานทางโทรศัพท์ในเขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร. ภาคนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม.
จิรัฏฐ์ เพ่งเจริญธรรม. (2554). ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริโภคกับการตัดสินใจซื้ออาหารเกาหลีของผู้บริโภคร้านสุเพียร์ในเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.
เฉลิมศรี มาโนชนฤมล. (2546). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใช้และไม่ใช้บริการอาหารไทยจัดส่งแบบถึงที่ในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ฐานเศรษฐกิจ. (2558). เชนร้านอาหารดังรุกไทย ทุ่มงบปักหมุดผุดสาขาสยายปีกยึดพื้นที่ปั๊มเงิน. สืบค้นจาก URL: http://www.thansettakij.com/content/9636.
ณัชพล สุทธิชัยโชติ. (2552). พฤติกรรมและปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้ออาหารจากร้านอาหารประเภทรถเข็นของผู้บริโภคในเขตลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ธนรัตน์ ศรีสำอาง. (2558). พฤติกรรมผู้บริโภคในกรุงเทพมหานครต่อการใช้บริการสั่งอาหารดิลิเวอรีผ่านเว็บไซต์. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการตลาด บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
นภนนท์ หอมสุด, ชาลี นาวีภาพ และณัฐณี สว่างศรี. (2559). อิทธิพลสื่อสังคมออนไลน์ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์บำรุงผิว. การประชุมวิชาการระดับชาติ นเรศวรวิจัยครั้งที่ 12 วิจัยและนวัตกรรมกับการพัฒนาประเทศ. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.
นลินทิพย์ ภัคศรีกุลกำธร. (2547). ธุรกิจร้านอาหารในประเทศ : ขยายตัวต่อเนื่องผู้ประกอบการเร่งปรับ กลยุทธ์. สืบค้นจาก URL: http://positioningmag.com/19920
นลินทิพย์ ภัคศรีกุลกำธร. (2556). เชนร้านอาหารเติบโตอาหารสัญชาติเอเชียยังเป็นดาวรุ่ง. สืบค้นจาก URL: http://positioningmag.com/56734
นุชนาถ มีสมพืชน์. (2552). พฤติกรรมการซื้อของลูกค้าและการตัดสินใจซื้อสินค้าจากร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมในอำเภอพระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
เพทาย พงษ์ประดิษฐ์. (2559). แรงจูงใจในการซื้อสินค้า การรับข้อมูล และการตัดสินใจเข้าร้านเบเกอรี่. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารการตลาด คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
มณีรัตน์ สดุดีวิถีชัย. (2553). ปัจจัยและพฤติกรรมที่มีอิทธิพลต่อการเลือกใช้บริการร้านอาหารบ้านยำ. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
มาลัยทิพย์ ปรักมะวงศ์. (2544). ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับนวกรรมบริการส่งอาหารถึงที่ (delivery) : ศึกษาเฉพาะธุรกิจอาหารที่ใช้เบอร์โทรศัพท์หมายเลขเดียวส่งทั่วกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์วารสารศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสื่อสารมวลชน คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สิทธิพงษ์ คำยวง. (2550). พฤติกรรมและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้ออาหารสดของผู้บริโภคต่อธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ ในเขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อมรรัตน์ ยุวกุลกำธร. (2560). พฤติกรรมการบริโภคอาหารเจและความต้องการใช้บริการอาหารเจจัดส่งแบบถึงที่ในช่วงเทศกาลกินเจของผู้บริโภค ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.
อัจฉรา สุทธิเกษมคุณ. (2550). ความพึงพอใจของลูกค้าที่มีต่อการสั่งซื้อพิซซ่าฮัทแบบบริการส่งถึงบ้านในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการตลาด คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
Brandbuffet. (2560). ทำธุรกิจอาหารยุค 4.0 ไม่ใช่แค่อร่อย แต่ต้องโดน “จริต 5 สัมผัส” ของผู้บริโภค. สืบค้นจาก URL: https://www.brandbuffet.in.th/2016/12/restaurants-use-5-senses-appeal-customers/.
Chai 362. (2020). ศูนย์วิจัยกสิกรฯ คาด ธุรกิจร้านอาหาร 4 แสนล้านบาทปีนี้ไม่หมู. สืบค้นจาก URL: http://www.362degree.com.
Cochran, W.G. (1977). Sampling Techniques. (3rd ed.) New York: John Wiley & Sons.
Hair, J., Black, W. C., Babin, B. J., and Anderson, R. E. (2010). Multivariate data analysis (7th ed.). Upper saddle River, New Jersey: Pearson Education International.
Hossain, F. and Adelaja, A.O. (2000). Consumers’ Interest in Alternative Food Delivery Systems: Results from a Consumer Survey in New Jersey, 50-67.
Morganosky, A.M. and Cude, F.B. (2000). Consumer response to online grocery shopping. International Journal of Retail & Distribution Management. 28(1), 17-26.
Marketingoops. (2559). ผลสำรวจชี้ “ร้านอาหารที่ไม่มีหน้าร้าน” โตไวไปไว. สืบค้นจาก URL: https://www.marketingoops.com/reports/research/cmmu-research-restaurant-online/
Posttoday. (2560). "ฟู้ดเดลิเวอรี่" ยุคนี้เสิร์ฟถึงบ้าน. สืบค้นจาก URL: http://www.posttoday.com/ analysis/report/361916

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-20