การเดินทางข้ามกาลเวลาผ่านความจริงเสมือนในพิพิธภัณฑ์แห่งชาติฟินแลนด์
คำสำคัญ:
ความจริงเสมือน, ศิลปะ, พิพิธภัณฑ์บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายถึงการใช้ความจริงเสมือนของนักออกแบบความจริงเสมือนที่มีความต้องการนำผู้คนเข้าสู่เรื่องราวในประวัติศาสตร์ผ่านภาพวาด “The opening of the Diet 1863 by Alexander II” ซึ่งเป็นผลงานของศิลปินที่ชื่อว่า R. W. Ekman’s แสดงงานที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติฟินแลนด์ด้วยอุปกรณ์ความจริงเสมือน VR และสร้างสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับภาพวาดในห้องจัดนิทรรศการในพื้นที่ของห้องจัดแสดงงาน เพื่อให้ผู้ชมมีความรู้สึกดื่มด่ำร่วมไปกับเนื้อหาของภาพวาดที่ศิลปินต้องการสื่อสารออกมา ผู้เขียนมีความสนใจรูปแบบการสร้างภาพเสมือนจริงผ่านภาพวาดเพื่อนำผู้ชมเข้าไปสู่ความรู้สึกของศิลปินได้ ซึ่งงานศิลปะแบบนี้ จะเป็นประโยชน์อย่างมากกับการนำมาเล่าเรื่องราวที่ผู้คนไม่สามารถเข้าใจเนื้อหาเรื่องราวที่เป็นนามธรรมได้ดียิ่งขึ้น
References
กิตติธัช ศรีฟ้า. (2562). สุนทรียใหม่ในโลกความเป็นจริงเสมือน. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์. 18(2), 48-56.
ดลพร ศรีฟ้า. (2561). โลกเสมือนจริงก่อให้เกิดประสบการณ์ทางสุนทรียะ. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์. 17(22), 74-78.
ทัดดาว บุตรฉุย. (2548). การเปรียบเทียบผลของภาพนิ่งและภาพพาโนรามาเสมือนจริงประกอบบทเรียนคอมพิวเตอรที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการจำภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีการรับรูปภาพแบบแฮพติค. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วิรุณ ตั้งเจริญ. (2547). ศิลปะหลังสมัยใหม่. กรุงเทพมหานคร : อีแอนไอคิว.
อารี สุทธิพันธ์. (2532). ทัศนศิลป์และความงาม. กรุงเทพมหานคร : ต้นอ้อ.
I. E. Sutherland. (1964). Sketchpad-A Man-Machine Graphical Communication System. Proceedings of the Spring Joint Computer Conference, Detroit, Michigan, May 1963. Washington, D.C.: Spartan.
Jack M. Loomis, James J. Blascovich and Andrew C. Beall. (1999). Immersive virtual environment technology as a basic research tool in psychology. Behavior Research Methods, Instruments, & Computers. 31, 557-564.
Kamarulzaman Ab. Aziz, and Tan Gek Siang. (2014). Virtual reality and augmented reality combination as a holistic application for heritage preservation in the UNESCO world heritage site of Melaka. International Journal of Social Science and Humanity. 4(5), 333-338. DOI: 10.7763/I.JSSH.2014.V4.374.
Robert Wilhelm Ekman. (2001). Pinx - maalaustaide Suomessa: Suuria kertomuksia. Weilin+Göös.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร
วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร อยู่ภายใต้การอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License. (CC BY-Nc-ND 4.0) เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอย่างอื่น โปรดอ่านหน้านโยบายของเราสำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเข้าถึงแบบปิด ลิขสิทธิ์ และการอนุญาต