สื่อที่ใช้ในการรณรงค์ของภาครัฐเพื่อป้องกันโรคระบาดโควิด-19 ของประเทศไทย
คำสำคัญ:
รณรงค์, สื่อเพื่อการรณรงค์, สาธารณสุข, โควิด-19บทคัดย่อ
บทความวิชาการเรื่องนี้ มุ่งนำเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับสื่อที่ใช้ในการรณรงค์เพื่อป้องกันโรคระบาด COVID-19 ของประเทศไทยที่มีการใช้สื่อเพื่อการรณรงค์ที่หลากหลายรูปแบบ อาทิ การใช้เพลงแปลงที่นำเสนอเนื้อหาเพื่อให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรคระบาดโควิด-19 การใช้สื่อบุคคล ทั้งที่เป็นทางการผ่านรูปแบบโฆษกของศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด-19 (ศบค.) และการใช้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ที่มีบทบาทสำคัญต่อการส่งเสริมสุขภาพของประชาชนในชุมชน การใช้คำขวัญ และสัญลักษณ์ในการสื่อสาร เพื่อการณรงค์ที่ว่า “อยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ” การใช้สื่ออินโฟกราฟิก การใช้สื่อสังคมออนไลน์ และการสื่อสารผ่านสื่อมวลชน ซึ่งการเลือกใช้สื่อทุกประเภทของรัฐบาลไทยนำไปสู่การป้องกันโรคระบาดโควิด-19
ได้เป็นอย่างดี
References
กรุงเทพธุรกิจ. (2563). รัฐบาล ยก แคมเปญ 'อยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ' ลดภาระบุคลากรทางการแพทย์. สืบค้นจาก URL: https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/871773.
กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์. (2563). เจน - นุ่น - โบว์ ซุปเปอร์สเปรดเดอร์ อยู่บ้าน หยุดเชื้อเพื่อชาติ. สืบค้นจาก URL: https://www.youtube.com/watch?v=-JUMO77ddQo.
กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์. (2563). กักตัวทั้งอำเภอ เพื่อเธอโควิด. สืบค้นจาก URL: https://www.youtube.com/watch?v=09LkvUWWSuA
กาญจนา แก้วเทพ. (2543). สื่อเพื่อชุมชน : การประมวลองค์ความรู้. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
จิตราภรณ์ สุทธิวรเศรษฐ์. (2559). เอกสารการสอนชุดวิชากลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ หน่วยที่ 10 กลยุทธ์การรณรงค์ทางการประชาสัมพันธ์. พิมพ์ครั้งที่ 10. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ไทยพีบีเอส. (28 มีนาคม 2563). วันที่ไทยรู้จัก COVID-19. สืบค้นจาก URL: https://news.thaipbs.or.th/content/290347.
ไทยโพสต์. (28 เมษายน 2563). อสม. "ป้อมปราการอันแข็งแกร่ง" ด่านหน้า สู้โควิด. สืบค้นจาก URL: https://www.thaipost.net/main/detail/64503.
ไทยรัฐ. (22 พฤษภาคม 2563). เปิดตัวผู้ช่วยโฆษก ศบค. พบ "หมอบุ๋ม" พญ.พรรณประภา ทุกวันหยุดเสาร์ อาทิตย์. สืบค้นจาก URL: https://www.thairath.co.th/news/society/1850588.
แนวหน้า. (7 เมษายน 2563). พังงารณรงค์ให้ปชช.หยุดอยู่บ้าน ป้องกันการแพร่ระบาดเชื้อโควิด-19. สืบค้นจาก URL: https://www.naewna.com/local/484649.
มติชน. (12 เมษายน 2563). วัดที่อ่างทอง วาดจิตรกรรมฝาผนัง พุทธประวัติ นางฟ้าเทวดาสวมใส่แมสก์. สืบค้นจาก URL: https://www.matichon.co.th/region/news_2136455.
รุ่งนภา พิตรปรีชา. (2556). พลังแห่งการประชาสัมพันธ์. กรุงเทพมหานคร : 21 เซ็นจูรี่.
ศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด-19. (2563). คู่มือสำหรับกิจการ/กิจกรรม และประชาชน โครงการ “ไทยชนะ”. สืบค้นจาก URL: https://คู่มือสำหรับผู้ประกอบการลงทะเบียน%20และวิธีสแกน%20QR.pdf.
สำนักข่าวไทย. (2563). มนุษย์โบราณอินเทรนด์ ใส่หน้ากากอนามัย. สืบค้นจาก URL: https://www.mcot.net/viewtna/5e8b061ce3f8e40af44347a2.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ : Thai Health. (2563). ไม่ตีตราผู้หายจากโควิด 19. สืบค้นจาก URL: https://www.facebook.com/thaihealth/videos/1150268928641440/.
โอเอ็นบี นิวส์. (2563). "โยธาธิการฯ" ไอเดียเก๋! ใส่แมสนกยูง รณรงค์ป้องกันโควิด-19 ใน จ.พะเยา. สืบค้นจาก URL: https://www.onbnews.today/post/24081.
ไอเอ็นเอ็น. (2563, 7 เมษายน). พังงาจัดโลงศพขึ้นป้าย“อยู่บ้านหรือนอนโลง”. สืบค้นจาก URL: https://www.innnews.co.th/regional-news/news_640610/.
Backer, Rogers and Sopory. (1987). Designing Health Communication Campaigns. Newbury Park: Sage
Ratzan, S. C., Payne, J. G., and Bishop, C. (1996). The status and scope of health communication. Journal of Health Communication. 1(1), 25-41.
World Health Organization. (2020). Coronavirus disease (COVID-19) questions and answers. Available from URL: https://www.who.int/thailand/emergencies/novel-coronavirus-2019/q-a-on-covid-19.
World Health Organization. (1996). Health promotion glossary. Geneva: WHO.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร
วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร อยู่ภายใต้การอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License. (CC BY-Nc-ND 4.0) เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอย่างอื่น โปรดอ่านหน้านโยบายของเราสำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเข้าถึงแบบปิด ลิขสิทธิ์ และการอนุญาต