การพัฒนาชุดสื่อประชาสัมพันธ์แบบมีปฏิสัมพันธ์ โครงการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าทำงานในสถานประกอบการหลักสูตรเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
คำสำคัญ:
ชุดสื่อประชาสัมพันธ์แบบมีปฏิสัมพันธ์, ฝึกอบรม-ฝึกงาน, คนพิการบทคัดย่อ
งานวิจัยและพัฒนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและประเมินคุณภาพของชุดสื่อประชาสัมพันธ์แบบมีปฏิสัมพันธ์ โครงการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าทำงานในสถานประกอบการหลักสูตรเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ซึ่งผลการประเมินคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาและสื่อ พบว่า คุณภาพด้านเนื้อหาอยู่ในระดับดีมาก ( =4.79, S.D.=0.30) และคุณภาพด้านสื่ออยู่ในระดับดีมาก ( =4.76, S.D.=0.35) ผลประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.63, S.D.=0.57) สรุปได้ว่า ชุดสื่อประชาสัมพันธ์แบบมีปฏิสัมพันธ์โครงการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าทำงานในสถานประกอบการ หลักสูตรเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีที่พัฒนาขึ้น สามารถนำไปใช้ประชาสัมพันธ์ได้จริง
References
จิตตฤทัย บุญยะประสพ, ปรียานันท์ โชคชัยม้าเรืองเดช และวิภาคย์ พูนพันธุ์ (2558). การสร้างชุดสื่อประชาสัมพันธ์ และการจัดกิจกรรมพิเศษเพื่อประชาสัมพันธ์โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น "ว่าวจุฬาไทย" โดยปราชญ์ชาวบ้านของชุมชนหลังสวนธนบุรีรมย์. โครงงานศึกษาเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและสื่อสารมวลชน
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
ชัยณรงค์ นพศิริ (2561). สรุปความรู้เรื่อง “QR Code และ Short URL เพื่อการบริหารจัดการ สศต. สืบค้นจาก URL: Available: https://www.stou.ac.th/offices/Oce/kmoce1/pr21661/สรุปความรู้%20กิจกรรมการเรียนรู้%20เรื่อง%20”QR%20code%20และ%20Short%20URL%20เพื่อการบริหารจัดการ%20สศต.”%20ช่วงที่%201.pdf.
ธนกฤต ใจเพ็ชร์, ธนะชาติ เฟื่องเกตุ และสิริภัค เมรานนท์ (2557). การสร้างชุดสื่อประชาสัมพันธ์และ
การจัดกิจกรรมพิเศษเพื่อประชาสัมพันธ์โครงการครูช่างน้ำใจงามใช้ “พ” กำลังสาม สร้างแหล่งเรียนรู้คู่ภูมิปัญญากะลามะพร้าวไทย ณ ชุมชนหลังสวนธนบุรีรมย์. โครงงานศึกษาเทคโนโลยีบัณฑิต ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
นิคม ชัยขุนพล (2560). ลักษณะปฏิสัมพันธ์การสื่อสารจากพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมเครือข่ายออนไลน์ของคนไทย. วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ. 27(2), 55-65.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (2561). วิสัยทัศน์. สืบค้นจาก URL: http://www2.kmutt.ac.th/thai/abt_history/abt_vision.html.
มาลี บุญศิริพันธ์ (2556). วารสารศาสตร์เบื้องต้น:ปรัชญาและแนวคิด. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์.
รัฐพล ลิ้มตรีวรศักดิ์, (2560). การพัฒนาชุดสื่อประชาสัมพันธ์โดยใช้เทคนิคการนำเสนอแบบอินโฟกราฟิก ร่วมกับเทคโนโลยีเหมือนจริง (AR) สำหรับชุมชนกระบวนกร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเรียนรู้และสื่อสารมวลชน
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
อรุณรัตน์ ชินวรณ์ (2553). สื่อประชาสัมพันธ์. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ThaiPR.NET (2561). มจธ. จับมือ 6 หน่วยงาน เดินหน้าฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ เตรียมพร้อมทำงาน
ในสถานประกอบการ รุ่นที่ 5. สืบค้นจาก URL: Available:https://www.ryt9.com/s/prg/ 2843012.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร
วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร อยู่ภายใต้การอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License. (CC BY-Nc-ND 4.0) เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอย่างอื่น โปรดอ่านหน้านโยบายของเราสำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเข้าถึงแบบปิด ลิขสิทธิ์ และการอนุญาต