การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์โดยใช้เทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด เรื่อง การตลาดดิจิทัลสำหรับนักศึกษา
คำสำคัญ:
การตลาดดิจิทัล, การตลาดดิจิทัลสำหรับนักศึกษา, การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์, เทคโนโลยีคิวอาร์โค้ดบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนา 2) ประเมินคุณภาพ 3) ประเมินผลการรับรู้ และ 4) ประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์โดยใช้เทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด เรื่อง การตลาดดิจิทัลสำหรับนักศึกษา เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย 1) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์โดยใช้เทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด เรื่อง การตลาดดิจิทัลสำหรับนักศึกษา 2) แบบประเมินคุณภาพ 3) แบบประเมินผลการรับรู้ของกลุ่มตัวอย่าง และ 4) แบบประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 30 คน จากนักศึกษาระดับปริญญาตรี ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชา ETM202 โฆษณาและประชาสัมพันธ์ ด้วยวิธีการเลือกแบบเจาะจงจากผู้ที่เป็นสมาชิกเฟซบุ๊กกลุ่ม ETM202 และยินดีตอบแบบสอบถาม ซึ่งผลการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญพบว่า มีผลการประเมินคุณภาพด้านเนื้อหาอยู่ในระดับดีมาก (=4.52, S.D.=0.36) ผลการประเมินคุณภาพด้านสื่ออยู่ในระดับดี (=4.41, S.D.=1.37) ผลการประเมินการรับรู้ของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์โดยใช้เทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด เรื่อง การตลาดดิจิทัลสำหรับนักศึกษา อยู่ในระดับมากที่สุด (=4.76, S.D.=0.49) และผลการประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์โดยใช้เทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด เรื่อง การตลาดดิจิทัลสำหรับนักศึกษา อยู่ในระดับมากที่สุด (=4.81, S.D.=0.40) ดังนั้น หนังสืออิเล็กทรอนิกส์โดยใช้เทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด เรื่อง การตลาดดิจิทัลสำหรับนักศึกษา สามารถนำไปใช้เป็นสื่อประกอบการเรียนการสอนในรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับเรื่องการตลาดดิจิทัลสำหรับนักศึกษาได้จริง
References
กาญจนา อรุณสุขรุจี. (2546). ความพึงพอใจของสมาชิกสหกรณ์ต่อการดำเนินงานของสหกรณ์ การเกษตรไชยปราการ จำกัด อำเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
กิตติศักดิ์ เดินสันเทียะ. (2557). เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์กับการศึกษาไทย. สืบค้นจาก URL: http://www.acn.ac.th/articles/mod/forum/discuss.php?d=142.
จรัสสม ปานบุตร. (2556). การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) เพื่อพัฒนาทักษะ การอ่านออกเสียงภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านหนองเค็ด. การค้นคว้าอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ณัฐดนัย เนียมทอง. (2561). QR Code ตัวอย่างความสำเร็จของเทคโนโลยี. สืบค้นจาก URL : http://www.scimath.org/article-technology/item/.
นิรมล ศิริหล้า. (2555). การรับรู้ (Perception). สืบค้นจาก URL: https://www.gotoknow.org/posts/ 360941.
จำนง สันตจิต. (2556). ADDIE MODEL. สืบค้นจาก URL: https://www.gotoknow.org/posts/520517.
นิตยา พิริยวรรธนะ. (2558). คู่มือการผลิตหนังสืออิเล็กทรอนิกส์. สืบค้นจาก URL: http://lib.ch.ml.ac.th/ userfiles/files/e-book1.pdf.
ปิลันธนา สงวนบุญญพงษ์. (2542). การพัฒนาสื่อการสอน. สืบค้นจาก URL: https://www.gotoknow. org/posts/472834.
ปุญญภณ เทพประสิทธิ์. (2563). เดินหน้า Digital Marketing ขาดกลยุทธ์ ไม่เร็ว…คือไม่รอด. สืบค้นจาก URL: https://www.spu.ac.th/activities/17533.
ผกามาศ ผจญแก้ว. (2543). การพิมพ์ระบบพ่นหมึก. เอกสารการสอนชุดวิชากระบวนการพิมพ์พื้นลึกการพิมพ์พื้นฉลุลายผ้าและการพิมพ์ไร้แรงกด, นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
มาลินี พุ่มมาลัย. (2555). การศึกษาไทยยุคใหม่ ทำไม? จึงนิยมใช้ E-book. สืบค้นจาก URL: https://www.gotoknow.org/posts/493357.
วิลาวรรณ พิมประสงค์. (2556). ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21. สืบค้นจาก URL: https://sites.google.com/site/ppvilawan21/thaksa-haeng-stwrrs-thi-21.
วีรวิชญ์ จิโรจน์รัตน์. (2560). การพัฒนาสื่อสิ่งพิมพ์เพื่อการประชาสัมพันธ์โดยใช้ เทคโนโลยีคิว อาร์โค้ด เรื่องสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตรชุมชนบางมด. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและสื่อสารมวลชน คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
วรดา นาคเกษม. (2554). การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบหนังสือสื่อประสม เรื่องกระบวนการงานก่อนผลิตสื่อ. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการพิมพ์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
สำนักงานทะเบียนนักศึกษา. (2563). สรุปจำนวนนักศึกษาที่ลงทะเบียน สภานภาพนักศึกษาจำแนกตามชั้นปี ระดับปริญญาตรี ภาคการศึกษาที่ 1/2563. สืบค้นจาก URL: https://regis.kmutt.ac.th/ service/statb/163/b163.pdf.
อุบลลดา นันทกสิกร กฤติยาณี ฉัตรพิพัฒนผล และรชนก ศิริมา. (2561). การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์โดยใช้เทคโนโลยีคิวอาร์โค้ดร่วมกับกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นรากฐานสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี เรื่องห้องปฏิบัติการทางสังคม. โครงงานศึกษาปริญญาตรี ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
อภิเชษฐ์ มนูธรรมรัตน์ และภมรวรรณ ทุงฉิน. (2562). การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ร่วมกับเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ดบนเครือข่ายสังคมออนไลน์ เรื่องครูดีที่ศิษย์ศรัทธาของคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี. โครงงานศึกษาปริญญาตรี ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
Alex Hass. (2012). Graphic Design and Print Production Fundamentals. Victoria: B.C. Campus.
Rietzen J. (2007). What is Digital Marketing?. Available from URL: https://mobilestorm.com /mobile-marketing/what-is-digital-marketing/
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
Copyright (c) วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร
วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร อยู่ภายใต้การอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License. (CC BY-Nc-ND 4.0) เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอย่างอื่น โปรดอ่านหน้านโยบายของเราสำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเข้าถึงแบบปิด ลิขสิทธิ์ และการอนุญาต