เสน่ห์แห่งภาพถ่ายย้อนแสงเพื่อการสื่อสาร
คำสำคัญ:
การถ่ายภาพ, ภาพย้อนแสง, การสื่อสารบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์อธิบายเทคนิคการถ่ายภาพย้อนแสง (Silhouette) เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการสื่อสารผ่านภาพถ่าย ซึ่งมีองค์ประกอบที่สำคัญในการสร้างสรรค์ผลงานดังนี้ 1) โหมดการถ่ายภาพ การเลือกใช้โหมดถ่ายภาพคำนึงถึงเรื่องราวที่ปรากฏในภาพถ่ายลักษณะใด ต้องการหยุดการเคลื่อนไหวของวัตถุอาจใช้โหมดควบคุมความไวชัตเตอร์ (S, TV) ถ้าต้องการความชัดลึกของภาพแนะนำให้เลือกใช้โหมด (AV, A) โดยเลือกใช้ขนาดรูรับแสงแคบเพื่อความชัดลึกของภาพ 2) การวัดแสง (Exposure) ให้
วัดแสงบริเวณส่วนสว่างที่สุดของภาพ 3) การจัดองค์ประกอบภาพ ภาพวิวทิวทัศน์อาจเลือกใช้การจัดองค์ประกอบพื้นฐาน กฎสามส่วน ภาพบุคคลควรมีการโพสต์ท่าทางที่ไม่แนบแขน-ขาข้างลำตัว แต่ควรให้แบบแสดงอากัปกิริยาต่าง ๆ เพื่อสร้างความน่าสนใจให้ภาพถ่าย 4) การใช้ภาพย้อนแสงเพื่อการสื่อสาร การมองเห็นภาพย้อนแสงเป็นเพียงโครงทึบสองมิติโดยที่ประโยชน์ของภาพย้อนแสงทำให้ผู้ชมภาพเกิดจินตนาการ (Imagine) ในการรับชมภาพซึ่งจะคล้อยไปตามประสบการณ์ทางการสื่อสาร
References
ณรงค์ศักดิ์ ศรีทานันท์ และขจร พีรกิจ. (2557). หลักและแนวคิดวารสารศาสตร์คอนเวอร์เจนซ์: การเล่าเรื่องด้วยภาพและอินโฟกราฟิกส์. สมาคมนักข่าวหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย.
ณัฐวุฒิ สิงห์หนองสวง. (2564). การสร้างสรรค์ศิลปะภาพถ่ายเพื่อการสื่อสารด้วยเทคนิคความไวชัตเตอร์. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์., 20(2), 214-229.
นคเรศ รังควัต. (2562). ถ่ายภาพให้มีพลัง The Power of Image. ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ปิยะฉัตร แกหลง. (2562). คลาสแรกคนเล่นกล้อง Photography 101. โปรวิชั่น.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2548). ศัพท์เทคโนโลยีทางภาพ อังกฤษ-ไทย ไทย-อังกฤษ. พิมพ์ลักษณ์.
อำนวยพร บุญจำรัส. (2553). The Art of Photography ศิลปะแห่งการถ่ายภาพ. ซีเอ็ดยูเคชั่น.
เอกนฤน บางท่าไม้ และวิโรจน์ เจียรวัชระมงคล. (2556). การจัดองค์ประกอบสำหรับการถ่ายภาพ. ไอดีซีฯ.
Ang, Tom. (2011). Digital Photography Step by Step. Published by DK.
Richard Garvey-Williams. (2018). Mastering Composition the Definitive Guide for Photographers. AE Publications.
Williams R, Stowers C., & Bradley C. (2011). Travel Photography How to Take Striking Images. Chris Stowers Photography.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร
![Creative Commons License](http://i.creativecommons.org/l/by-nc-nd/4.0/88x31.png)
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
Copyright (c) วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร
วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร อยู่ภายใต้การอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License. (CC BY-Nc-ND 4.0) เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอย่างอื่น โปรดอ่านหน้านโยบายของเราสำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเข้าถึงแบบปิด ลิขสิทธิ์ และการอนุญาต