การพัฒนาพอดแคสต์เชิงละครวิทยุ เรื่อง Little Hope
คำสำคัญ:
พอดแคสต์, ละครวิทยุ, PTSDบทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาพอดแคสต์เชิงละครวิทยุ เรื่อง Little Hope และ 2) ศึกษาความพึงพอใจหลังการรับฟังพอดแคสต์เชิงละครวิทยุ เรื่อง Little Hope งานวิจัยชิ้นนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mix Method) วิธีการศึกษาผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าจากแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาพัฒนาพอดแคสต์เชิงละครวิทยุเรื่อง Little Hope ประเมินคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 คน ทำการปรับปรุงแก้ไขตามคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญ และศึกษาความพึงพอใจหลังการรับฟังสื่อพอดแคสต์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ ประชาชนทั่วไปที่อาศัยในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 100 คน จากการเปรียบเทียบขนาดกลุ่มตัวอย่างทาโร่ ยามาเน่ ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ความคลาดเคลื่อน 10 โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) สรุปผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการพัฒนาพอดแคสต์เชิงละครวิทยุเรื่อง Little Hope จำนวน 1 ตอน ระยะเวลา 26 นาที สื่อพอดแคสต์มีเนื้อหาเกี่ยวกับเด็กกำพร้าที่เป็นโรค Post Traumatic Stress Disorder (PTSD) หรือสภาวะป่วยทางจิตใจเมื่อเผชิญกับเหตุการณ์ที่กระทบกระเทือนจิตใจอย่างร้ายแรง ได้ผลการประเมินคุณภาพของสื่อพอดแคสต์เชิงละครวิทยุ เรื่อง Little Hope ของผู้เชี่ยวชาญทั้ง 3 คนในภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง โดยมีค่าเฉลี่ย () เท่ากับ 3.96 และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.99 และ 2) ผลการศึกษาความพึงพอใจหลังการรับฟังพอดแคสต์เชิงละครวิทยุ เรื่อง Little Hope ของกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 100 คน ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ย (
) เท่ากับ 3.96 และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.59การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาพอดแคสต์เชิงละครวิทยุ เรื่อง Little Hope และ 2) ศึกษาความพึงพอใจหลังการรับฟังพอดแคสต์เชิงละครวิทยุ เรื่อง Little Hope งานวิจัยชิ้นนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mix Method) วิธีการศึกษาผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าจากแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาพัฒนาพอดแคสต์เชิงละครวิทยุเรื่อง Little Hope ประเมินคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 คน ทำการปรับปรุงแก้ไขตามคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญ และศึกษาความพึงพอใจหลังการรับฟังสื่อพอดแคสต์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ ประชาชนทั่วไปที่อาศัยในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 100 คน จากการเปรียบเทียบขนาดกลุ่มตัวอย่างทาโร่ ยามาเน่ ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ความคลาดเคลื่อน 10 โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) สรุปผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการพัฒนาพอดแคสต์เชิงละครวิทยุเรื่อง Little Hope จำนวน 1 ตอน ระยะเวลา 26 นาที สื่อพอดแคสต์มีเนื้อหาเกี่ยวกับเด็กกำพร้าที่เป็นโรค Post Traumatic Stress Disorder (PTSD) หรือสภาวะป่วยทางจิตใจเมื่อเผชิญกับเหตุการณ์ที่กระทบกระเทือนจิตใจอย่างร้ายแรง ได้ผลการประเมินคุณภาพของสื่อพอดแคสต์เชิงละครวิทยุ เรื่อง Little Hope ของผู้เชี่ยวชาญทั้ง 3 คนในภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง โดยมีค่าเฉลี่ย (
) เท่ากับ 3.96 และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.99 และ 2) ผลการศึกษาความพึงพอใจหลังการรับฟังพอดแคสต์เชิงละครวิทยุ เรื่อง Little Hope ของกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 100 คน ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ย (
) เท่ากับ 3.96 และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.59
References
กนกวรรณ ภารยาท (2566). การสร้างชุมชนออนไลน์ กลยุทธ์การสื่อสารและการใช้ประโยชน์และความพึงพอใจของผู้รับสารจากรายการพอดแคสต์สำนักข่าวเดอะสแตนดาร์ด. [วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
เกรียงไกร ภู่ธีรอาภา. (2563). ความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาการประกันภัยผ่านสื่อพอดแคสต์รายการ The Money Case. [การค้นคว้าอิสระนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
จินต์จุฑา ขำทอง และสิรินันท์ สุวรรณาภรณ์. (2564). โรคเครียดจากการเผชิญเหตุการณ์สะเทือนขวัญจากการทำงาน. วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2(1), 1-12
จิราภรณ์ สุนทรวาจกกสิกิจ. (2543). หลักการจัดรายการวิทยุกระจายเสียง. (พิมพ์ครั้งที่ 5). มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ชนินทร เพ็ญสูตร. (2561). พอดคสาต์ สื่อทางเลือกใหม่: กรณีศึกษาเปรียบเทียบระหว่างสหรัฐอเมริกาและไทย วารสารวิชาการ กสทช.ประจำปี 2561, 2(2), 283-284.
ดวิษ ประภายนต์. (2562). พฤติกรรมผู้บริโภคเชิงลึกและรูปแบบการรับฟังสื่อของกลุ่มผู้ฟัง Podcast เพื่อสร้างรูปแบบการนำเสนอและโปรโมทช่องรายการ Podcast ที่มีประสิทธิภาพบนแพลตฟอร์ม Facebook ในประเทศไทย. [การค้นคว้าอิสระนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ธนโชติ วงศ์เมธิญญ์. (2563, 30 ธันวาคม). วงการพอดคาสต์ที่จะโตก็ดันโดนโควิด-19 เตะตัดขาซะงั้น. Songsue. https://www.songsue.co/12675/
ปิยนุช เพ็งลี. (2557). การพัฒนาความสามารถด้านการฟังภาษาอังกฤษโดยใช้พอดคาสต์ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. [วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
มานะ รุจิระยรรยง. (2563). การพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กในครอบครัวอุปถัมภ์ถาวร กรณีศึกษามูลนิธิครอบครัวเฟลิกซ์สุราษฎร์ธานี. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 7(8), 400.
มาโนช หล่อตระกูล และปราโมทย์ สุคนิชย์. (2558). จิตเวชศาสตร์รามาธิบดี. (พิมพ์ครั้งที่ 4). ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล.
รุ่งนภา พิมมะศรี. (2561, 30 พฤษภาคม). Podcast ในไทย ความนิยมมากขึ้น แต่ยังไม่สร้างรายได้?. สำนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย. https://tja.or.th/ view/booklet/12556
วิชัย มาตกุล. (2562, 26 กันยายน). In-Ear Cinema คือรายการที่จะแนะนำรสชาติใหม่มาสู่พอดแคสต์ไทย [Video]. YouTube. https://youtu.be/G7b713g74MY
ศลิษา กระเทศ, ปลันลน์ ปุณญประภา และนพดล อินทร์จันทร์. (2566). การศึกษาและการออกแบบสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับการผลิตรายการพอดแคสต์ในบริบทผู้ใช้ชาวไทย. วารสารสหวิทยาการสังคมศาสตร์และการสื่อสาร, 6(4), 198–209. https://doi.org/10.14456/issc.2023.73
สมใจ สืบเสาะ และกุลกนิษฐ์ ทองเงา. (2565). ละครวิทยุสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมสุขภาพที่ดีด้วยโภชนาการสำหรับผู้สูงอายุในยุคไทยแลนด์ 4.0. วารสารสหวิทยาการมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์, 5(4), 1301-1317.
สำนักคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์. (ม.ป.ป.). บริการโทรทัศน์เพื่อการเข้าถึงของคนพิการ ตามประกาศ กสทช. เรื่อง การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิของคนพิการให้เข้าถึงหรือรับรู้และใช้ประโยชน์จากรายการของกิจการโทรทัศน์. สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ. https://bcp.nbtc.go.th/th/detail/2018-03-21-15-22-31
สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง. (ม.ป.ป.). ระบบสถิติทางการทะเบียน. สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง. https://stat.bora.dopa.go.th/stat/ statnew/statyear/#/FilterPageAge
สุชาติ ทองรัมภากุล และสุรศักดิ์ มังสิงห์. (2558). ตัวแบบระบบสื่อประชาสัมพันธ์ดิจิทัลสาธารณะเพื่อการกระจายความรู้แบบชัดแจ้ง. [วิทยาศาสตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยศรีปทุม
อานวัฒน์ บุตรจันทร์. (2552). ผลของการสอนเสริมด้วยพอดคาสต์โดยใช้กลวิธีในการกากับตนเองในรายวิชาการผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อการศึกษาที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการกำกับตนเองของนิสิตระดับปริญญาบัณฑิต. [วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อาลี ปรียากร. (2560). การศึกษาแนวทางการผลิตรายการกระจายเสียงเพื่อเผยแพร่ผ่านรูปแบบรายการพอดแคสต์ในประเทศไทย. [วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
Fernandez Vicenc, Jose M Sallan and Pep Simo. (2015). Past, Present and Future of Podcasting in Higher Education. New Frontiers of Educational Research. 2(1), 305–330.
Simon Kemp. (2024, January 31). Digital 2024: Global Overview Report. Datareportal. https://datareportal.com/reports/digital-2024-global-overview-report
Yamane, Taro. (1967). Statistics, An Introductory Analysis. (2nd Ed.). Harper and Row.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร
![Creative Commons License](http://i.creativecommons.org/l/by-nc-nd/4.0/88x31.png)
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
Copyright (c) วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร
วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร อยู่ภายใต้การอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License. (CC BY-Nc-ND 4.0) เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอย่างอื่น โปรดอ่านหน้านโยบายของเราสำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเข้าถึงแบบปิด ลิขสิทธิ์ และการอนุญาต