การพัฒนาทักษะการผลิตสื่อดิจิทัลเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมด้วยกระบวนการคิดเชิงออกแบบ
คำสำคัญ:
ทักษะการผลิตสื่อ, การคิดเชิงออกแบบ, สื่อแบบมีส่วนร่วม, สื่อดิจิทัลบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มุ่งศึกษาการพัฒนาทักษะการใช้เครื่องมือสื่อดิจิทัลเพื่อสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมกับผู้รับสาร โดยใช้กระบวนการคิดเชิงออกแบบและการออกแบบประสบการณ์ผู้รับสาร ผ่านกระบวนการวิจัยแบบผสานวิธี ประกอบด้วย การอบรมเชิงปฏิบัติการการสังเกตพฤติกรรม การสัมภาษณ์เชิงลึก และแบบประเมินทักษะกับกลุ่มเป้าหมายผู้ผลิตสื่อ นักสื่อสารภาคประชาชน นักขับเคลื่อนสังคม และนักวิชาการด้านนิเทศศาสตร์ จำนวน 97 คน ผลการวิจัยพบว่า กระบวนการคิดเชิงออกแบบเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพสูงสุดในการพัฒนาทักษะความคิดเชิงนวัตกรรมเพื่อสังคม ให้กับผู้ผลิตสื่อและผู้ที่ต้องการสื่อสารประเด็นสังคม ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่า ผู้ผลิตสื่อสามารถนำกระบวนการคิดเชิงออกแบบมาพัฒนาเนื้อหาบนสื่อดิจิทัลเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมกับผู้รับสารได้ผ่าน 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1) วิเคราะห์ผู้รับสารและประเด็นเป้าหมายเชิงลึก 2) วิเคราะห์ประสบการณ์และรูปแบบการปฏิสัมพันธ์ที่จะทำให้เกิดการรับรู้เนื้อหาผ่านประสบการณ์ 3) ออกแบบกระบวนการปฏิสัมพันธ์และมีส่วนร่วม และ 4) วางแผนการใช้สื่อต้องการผลลัพธ์เชิงพฤติกรรมจากกระบวนการสื่อสาร ผู้ผลิตสื่อมีความเห็นว่า การออกแบบกระบวนการมีส่วนร่วมโดยเข้าใจผู้รับสารและใช้เครื่องมือดิจิทัลสร้างประสบการณ์การรับรู้ ส่งผลให้ผลการสื่อสารมีโอกาสบรรลุเป้าหมายและสร้างคุณค่าทางสังคมได้มากขึ้น
References
สกุลศรี ศรีสารคาม (2564). โครงการวิจัยถอดองค์ความรู้นวัตกรรมสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ทั้งในประเทศและต่างประเทศ. กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์
สกุลศรี ศรีสารคาม. (2565). การสร้างโมเดลต้นแบบเพื่อพัฒนาทักษะการคิดและรู้เท่าทันสื่อหลากแพลตฟอร์มของผู้ผลิตสื่อด้วยกระบวนการเล่าเรื่องข้ามสื่อและการคิดเชิงออกแบบ. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 14(1), 293-307.
Aronson-Rath, R. (2015, December 17). How Knight is helping FRONTLINE and Emblematic Group chart the future of virtual reality in journalism. Knight Foundation. https://knightfoundation.org/articles/how-knight-helping-frontline-and-emblematic-group-chart-future-virtual-reality-journalism/
Backhaus, B. (2019). Meaningful participation: Exploring the value of limited participation for community radio listeners. Radio Journal: International Studies in Broadcast & Audio Media, 17(2), 253–270. https://doi.org/10.1386/rjao_00008_1
Brown, T. (2020). Design Thinking. In Tim Brown, Clayton M. Christensen, Indra Nooyi, Vijay Govindarajan. (Eds.), On Design Thinking, 1–22. Harvard Business Review Press.
Carpentier, N. (2007). Participation and interactivity: Changing perspectives. The construction of an integrated model on access, interaction and participation. In V. Nightingale & T. Dwyer (Eds.), New media worlds (pp. 214–230). Oxford University Press.
Florini, S. (2017). This Week in blackness, the George Zimmerman acquittal, and the production of a networked collective identity. New Media & Society, 19(3), 439–454. https://doi.org/10.1177/1461444815606779
Jenkins, H. (2009). Confronting the challenges of participatory culture: Media education for the 21st Century. The MIT Press. https://library.oapen.org/ handle/20.500.12657/26083
Kelley, T., & Kelley, D. (2013). Creative confidence: Unleashing the creative potential within us all. Crown Business.
Lewrick, M., Link, P., & Leifer, L. (2020). The Design Thinking Toolbox: A Guide to Mastering the Most Popular and Valuable Innovation Methods. John Wiley & Sons.
Moloney, K. (2018). Designing transmedia journalism projects. In M. Freeman (Ed.), Exploring transmedia journalism in the digital age (pp. 83-103). IGI Global.
Newman, N. (2015). Media, Journalism and Technology Predictions 2016. Digital News Report. http://digitalnewsreport.org/publications/2016/ predictions-2016/
Plattner, H. (2010). An introduction to design thinking process guide. The Institute of Design at Stanford.
Ramirez, E. (2019, February 26). How we used design thinking to create media solutions. Medium. https://medium.com/medill-media-innovation-content-strategy-entrepreneurship/how-we-used-design-thinking-to-create-media-solutions-32e8c914dc04
Rutledge. P. (2015). The Transmedia Trip: The Psychology of Creating Multi-Platform Narrative Engagement for Transmedia Migration. Transmedia Storytelling Conference. https://www.psychologytoday.com/sites/default/files/2017-01_-8_rutledge_transmedia_trip_.pdf
Selvadurai, V., & Rosenstand, C. (2017). A heuristic for improving transmedia exhibition experience. The Design Journal, 20, S3669-S3682. https://doi.org/10.1080/14606925.2017.1352873
Westbrook, A. (2020, April 15). Storytelling + Design Thinking - Adam Westbrook - Medium. Medium. https://adamwestbrook.medium.com/ storytelling-design-thinking-ed914117f7c1
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
Copyright (c) วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร
วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร อยู่ภายใต้การอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License. (CC BY-Nc-ND 4.0) เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอย่างอื่น โปรดอ่านหน้านโยบายของเราสำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเข้าถึงแบบปิด ลิขสิทธิ์ และการอนุญาต