ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้กล้องวงจรปิดในการปฏิบัติงานของตำรวจนครบาล 4

ผู้แต่ง

  • พิชศาล พันธุ์วัฒนา สาขาวิชาบริหารงานตำรวจ คณะตำรวจศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยตำรวจ

คำสำคัญ:

ปัจจัยสำคัญ, กล้องวงจรปิด, การปฏิบัติงาน

บทคัดย่อ

บทความวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่ออุปกรณ์ ผู้ปฏิบัติการสื่อสาร สถานที่ และการใช้กล้องวงจรปิด และ 2) อิทธิพลของอุปกรณ์ ผู้ปฏิบัติ การสื่อสาร และสถานที่ที่มีต่อการใช้กล้องวงจรปิด CCTV วิธีการศึกษาใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชาชนที่อาศัยในพื้นที่กรุงเทพตะวันออก (ตามการแบ่งพื้นที่เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร) โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ (Stratified Sampling) จากประชาชนในพื้นที่สถานีตำรวจแห่งละ 50 คน จำนวน 8 สถานี รวมจำนวน 400 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแปลผลค่าร้อยละ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความเบ้ ค่าความโด่ง และเทคนิคการวิเคราะห์เส้นทาง ผลการวิจัยพบว่า 1) ประชาชนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อการใช้กล้องวงจรปิดของตำรวจนครบาล 4 ในระดับปานกลาง (ร้อยละ 66.75) โดยพึงพอใจด้านสถานที่เป็นลำดับแรก (ร้อยละ 47.00) รองลงมาไล่เรียงลำดับ ได้แก่ อุปกรณ์ การสื่อสาร และผู้ปฏิบัติเป็นลำดับท้าย (ร้อยละ 10.50) ทั้งนี้ในภาพรวมประชาชนจำนวนมากกว่าครึ่ง (256 คน) คิดเห็นว่าการใช้กล้องวงจรปิดของตำรวจนครบาล 4 ควรปรับเปลี่ยนเพื่อให้เกิดการพัฒนาให้ดีขึ้น (ร้อยละ 64.00) และ 2) อุปกรณ์เป็นปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลทั้งทางตรง ทางอ้อม และผลรวมมากที่สุดต่อการใช้กล้องวงจรปิดของตำรวจนครบาล 4

References

กรุงเทพมหานคร. (2566). สถิติกรุงเทพฯ พ.ศ. 2565 ประชากรและความหนาแน่นในกรุงเทพมหานคร. https://webportal.bangkok.go.th/pip/page/26222/สถิติกรุงเทพมหานคร-2565

กิตต์ธนทัต เลอวงศ์รัตน์, ปพัฒน์ วสุธวัช, ก้องปิติ อ่อนมาก, และอุนิษา เลิศโตมรสกุล. (2558). โครงการการศึกษาหาแนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพในการนำเทคโนโลยีกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) มาใช้ในการสนับสนุนการบริหารงานของสถานีตำรวจ ศึกษากรณีกองบัญชาการตำรวจนครบาล.สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. https://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:57664

ไกรพล ดีแก้ว. (2562). บทบาทของกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในการป้องกันการเกิดอาชญากรรมในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์กรณีศึกษาถนนข้าวสาร. ใน อำรีรัตน์ แย้มเกสร (บ.ก.), งานประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยรังสิต ประจำปี 2562 (น. 1276-1287). มหาวิทยาลัยรังสิต. https://rsucon.rsu.ac.th/proceeding/article/2206

กองบัญชาการตำรวจนครบาล. (2564). การติดตั้งและจำนวนกล้องวงจรปิดตามโครงการ. กองบัญชาการตำรวจนครบาล.

กองยุทธศาสตร์บริหารจัดการ กรุงเทพมหานคร. (2567). สถิติด้านสังคม จำนวนประชากรในกรุงเทพมหานคร. https://webportal.bangkok.go.th/pipd/page/sub/23329/สถิติกรุงเทพมหานคร

ชัชชาติ สิทธิพันธ์. (2565). ชัชชาติ สิทธิพันธ์: นโยบายขอดูภาพจากกล้อง CCTV ออนไลน์ได้สะดวกรวดเร็ว. Chadchart. https://www.chadchart.com/policy/62167b434e43cd8b4760bc3e

ติณเมธ วงศ์ใหญ่ และเนติพงษ์ หล่าวเจริญ. (2563). ปัญหาการพิสูจน์และการรับฟังพยานหลักฐานประเภทวีดิทัศน์จากกล้องวงจรปิดในคดีอาญา. วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 13(2), 91-119.

ธัชพงศ์ เรียนสุด, จักรวาล สุขไมตรี, ศิโรฒน์ ภาคสุวรรณ, และสัณหณัฐ จักรภัทรวงศ์ (2564). แนวทางการช่วยเหลืองานตำรวจของประชาชนอำเภอสวี จังหวัดชุมพร. วารสารรัฐศาสตร์รอบรู้และสหวิทยาการ, 4(4), 97-115.

ปฏิภาณ กิตตินันทวัฒน์, เหมือนฝัน คงสมแสวง, และปฐมาพร อินททรศักดิ์. (2565). แนวทางการสื่อสารเพื่อเฝ้าระวังภัยช้างป่าของอำเภอแก่งหางแมว จังหวัดจันทบุรี. วารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิจบัณฑิตย์, 16(1), 283-324.

พรชัย ขันตี, กฤษณะพงค์ พูตระกูล, และจอมเดช ตรีเมฆ. (2558). ทฤษฎีอาชญาวิทยา: หลักการ งานวิจัย และนโยบายประยุกต์. ส.เจริญการพิมพ์.

มรุตพงศ์ วิเชียรศรี และศศิภัทรา ศิริวาโท. (2563). การใช้กล้องวงจรปิด CCTV เพื่อลดปัญหาอาชญากรรม: กรณีศึกษาพื้นที่จังหวัดนนทบุรี. ใน กานดา ว่องไวลิขิต (บ.ก.), การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยรังสิต ประจำปี พ.ศ. 2563 (น. 936-956). มหาวิทยาลัยรังสิต. https://rsucon.rsu.ac.th/proceeding/article/2336

วิโรจน์ วิรัตน์. (2563). ผลงานเชิงวิเคราะห์ประสิทธิภาพระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดชนิดอนาล็อกของมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. https://building.yru. ac.th/download/a/WAlSdsT_tkssUJzizISmTl/ผลงานเชิงวิเคราะห์ประสิทธิภาพระบบกล้องวงจรปิด

วัชรชัย ครองใจ, วันชัย สีหะวงษ์, วุฒิชัย สิงห์ซอม, พฤศจิกาพรณ์ ปัญญาคมจันทพูน, พฤกษา ตั้งกิจวนิชกุล, ธนพร กะนะหาวงศ์, ธวัชชัย กัญญาพันธ์, และณัฐฐ์ฐนนท์ สีฟ้า. (2563). การพัฒนาระบบห้องติดตามสถานการณ์และการขับเคลื่อนเครือข่ายความปลอดภัยทางถนนโดยใช้ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ก้าวสู่เมืองวารินถนนปลอดภัยเทศบาลเมืองวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10, 18(2), 85-103.

วัชรวิชญ์ วิยาภรณ์ และพิมพร ศรีรุ่งเรือง. (2567). ความคาดหวังและความพึงพอใจด้านความปลอดภัยของนักท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานคร. วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย, 19(1), 30-39.

วรรณพงษ์ คชรักษ์, ทรงพล พลเยี่ยม, นริสา ทองประไพ, นภดล ศรสำราญ, ชัยวัฒน์ หัดกล้า, ทิพย์รัตน์ พัชรวรรัช, เสาวณีย์ มาลัยพงษ์, ปัญญา วรเพชรายุทธ, สุภาภรณ์ ศรีพิพัฒน์, ลือเกศ ยิสารคุณ, และพิชัย สีห์โสภณ (2560). แนวทางการใช้กล้องโทรทัศน์วงจรปิด (Closed-Circuit Television: CCTV) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานในห้องควบคุมผู้ต้องหาของสถานีตำรวจนครบาล [เอกสารที่ไม่ได้ตีพิมพ์]. สถาบันพัฒนาบุคลากรในกระบวนการยุติธรรม สำนักกิจการยุติธรรม.

ศิรวิทย์ ตาดพริ้ง และชาญคณิต กฤตยา สุริยะมณี. (2563). การใช้กล้องโทรทัศน์วงจรปิดเพื่อป้องกันอาชญากรรมในที่พักอาศัย: ศึกษาเฉพาะกรณีเกสต์เฮาส์ในพื้นที่เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยตำรวจ, 6(2), 58-72.

สถาพร เธียรสรรชัย และดิฐภัทร บวรชัย. (2564). แนวทางในการจัดการความปลอดภัยด้านอาชญากรรมที่เกิดขึ้นกับผู้โดยสารการรถไฟแห่งประเทศไทย กรณีศึกษาพื้นที่รับผิดชอบของกองกำกับการ 1 กองบังคับการตำรวจรถไฟ. วารสารคุณภาพชีวิตกับกฎหมาย, 17(1), 17-33.

สมญัติ คำปาละ. (2563). การวิเคราะห์การใช้และประโยชน์ระบบข้อมูลขนาดใหญ่ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ. วารสารสหวิทยาการ วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 17(1), 93-110.

สุรพล อยู่นุช. (2560). ระบบกล้องวงจรปิด (CCTV) เพื่อสนับสนุนงานด้านความมั่นคงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้. วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร.

อานันท์ สุทธินันท์, เสกสัณ เครือคำ, และโสรัตน์ กลับวิลา. (2564). แนวทางการป้องกันการตกเป็นเหยื่อการประทุษร้ายต่อทรัพย์ของนักท่องเที่ยวต่างชาติในเขตพื้นที่สถานีตำรวจนครบาลชนะสงคราม. วารสารวิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์, 7(2), 108-122.

อัตถกร ธรรมศิริ และติน ปรัชญพฤทธิ์. (2562). แนวทางการป้องกันอาชญากรรมในชุมชนรอบสถาบัน การศึกษา กรณีศึกษามหาวิทยาลัยรังสิต. วารสารนวัตกรรมบริหารและการจัดการ, 7(1), 32-42.

อัฐพร กิ่งบู และมาลีรัตน์ มะลิแย้ม. (2564). การปรับปรุงคุณภาพสาหรับภาพจากกล้องวงจรปิดโดยใช้เทคนิค BPE. วารสารมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี), 13(26), 134-150.

Andersson, S., Granat, L., Brännström, M., & Sandgren, A. (2022). Translation, Cultural Adaptation, and Content Validation of the Palliative Care Self-Efficacy Scale for Use in the Swedish Context. Int J Environ Res Public Health, 19(3), 11-43.

Birnhack, M., & Hazan, L.P. (2020). School Surveillance in Context: High School Students’ Perspectives on CCTV, Privacy, and Security. Youth & Society, 52(7). https://doi.org/10.1177/0044118X20916617

Chen, C. (2024). Assessment of Test Validity in the Context of the Duolingo English Test. Open Journal of Modern Linguistics, 14, 1-7.

Cheung, G.W., Thomas, H.C., Lau, R.S., & Wang, L.C. (2023). Reporting Reliability,

Convergent and Discriminant Validity with Structural Equation Modeling: A Review and Best-practice Recommendations. Asia Pacific Journal of Management. 41, 745-783. https://link.springer.com/article/10.1007/s10490-023-09871-y

Cronbach, L.J. (1951). Coefficient alpha and the internal structure of tests. Psychometrika.

Einola, K. & Alvesson, M. (2020). Behind the Numbers: Questioning Questionnaires. Journal of Management Inquiry, 30(1). https://doi.org/10.1177/1056492620938139

Gerell, M. (2016). Hot Spot Policing With Actively Monitored CCTV Cameras: Does it Reduce Assaults in Public Places?. International Criminal Justice Review, 26(2), 187-201. DOI:10.1177/1057567716639098

Heebels, B., & Van Aalst, I. (2020). Surveillance in Practice: Operators’ Collective Interpretation of CCTV Images. Surveillance & Society 18(3), 312-327. DOI:10.24908/ss.v18i3.13916

Hino, K. (2022). Changes in Public Attitudes Toward CCTV Installations in Residential Areas between 2008 and 2019. Cities, 128.

Institutional Review Board Health Sciences and Minimal Risk Research IRBs. (2023). Belmont Report. University of Wisconsin-Madison Press.

Lee, H., & Pan, Y. (2021). Evaluation of the Nomological Validity of Cognitive, Emotional, and Behavioral Factors for the Measurement of Developer Experience. Appl. Sci., 11(17).

Liu, L., Li, L., Zhou, H., & Jiang, C. (2020). The Effects of Police CCTV Camera on Crime Displacement and Diffusion of Benefits: A Case Study from Gusu District in Suzhou, China [In Chinese]. Scientia Geographica Sinica, 40(10), 1601-1609. DOI:10.1329/j.cnki.sgs.2020.10.003

Marini, J.P., Westrick, P.A., Young, L., Shmueli, D., & Shaw, J.E. (2019). Differential Validity and Prediction of the SAT. https://www.researchgate.net/publication/356283264_ Differential_Validity_and_Prediction_of_the_SAT_R_Examining_First-Year_Grades_and_ Retention_to_the_Second_Year

Masuwai, A., Zulkifli, H., & Hamzah, M.L. (2024). Evaluation of content validity and face validity of secondary school Islamic education teacher self-assessment instrument. Cogent Education, 11(1).

Matczak, P., Wójtowicz, A., Dabrowski, A., & Sypion, N. (2023). Effectiveness of CCTV Systems as a Crime Preventive Tool: Evidence from Eight Polish Cities. International Journal of Comparative and Applied Criminal Justice, 47(1), 37-56.

Nyimbili, F., & Nyimbili, L. (2024). Types of Purposive Sampling Techniques with Their Examples and Application in Qualitative Research Studies. British Journal of Multidisciplinary and Advanced Studies, 5(1), 90-99.

Piza, E. (2016). The Crime Prevention Effect of CCTV in Public Places: a Propensity Score Analysis. Journal of Crime and Justice, 41(1). DOI:10.1080/0735648X.2016.1226931

Piza, E. (2018). The History, Policy Implications, and Knowledge Gaps of the CCTV Literature: Insights for the Development of Body-Worn Video Camera Research. International Criminal Justice Review, 31(3). https://doi.org/10.1177/1057567718759583

Piza, E. (2024). CCTV Video Surveillance and Crime Control: The Current Evidence and Important Next Steps. In Welsh, B., Zane, S. & Mears, D. (Eds.) The Oxford Handbook of Evidence-Based Crime and Justice Policy (pp. 265-285). Oxford University.

Piza, E., Thomas, A., Welsh., B.C., & Farrington, D.P. (2019). CCTV surveillance for crime prevention: A 40‐year systematic review with meta‐analysis. Criminology & Public Policy, 18(1), 135-159. https://doi.10.1111/1745-9133.12419

Piza, E., Thomas, A., Welsh., B.C., & Farrington, D.P. (2021). The Internationalisation of CCTV Surveillance: Effects on Crime and Implications for Emerging Technologies. International Journal of Comparative and Applied Criminal Justice, 46(2), 1-22.

PPTV Online. (2022, 12 May). CCTV Bangkok is Seen Everywhere, But It Seems Like It Doesn't Really Exist. https://www.pptvhd36.com/newsสังคม/171960

Racy, F., Morin, A., & Hagerty, J. (2022). Concurrent Validity and Reliability of Representative Inner Speech Questionnaires. Psychological Reports, 127(3), 56-69.

Roebianto, A., Savitri, L., Sriyanto, A.S., & Syaiful, L.A. (2023). Content Validity: Definition and Procedure of Content Validation in Psychological Research. TPM–Testing, 30(1), 5-18.

Ronkko, M., & Cho, E. (2020). An Updated Guideline for Assessing Discriminant Validity. Organizational Research Methods, 25(1), 4-15.

Schuler, J., Anderson, B., & Kusshauer, A. (2023). Test-Retest Reliability in Metric Conjoint Experiments: A New Workflow to Evaluate Confidence in Model Results. Entrepreneurship Theory and Practice, 48(2), 42-57.

Shrestha, N. (2022). Factor Analysis as a Tool for Survey Analysis. American Journal of Applied Mathematics and Statistics, 9(1), 4-11.

Sjöberg, J., Cassinger, C., & Gambarato, R.R. (2023). Communicating a Sense of Safety: The Public Experience of Swedish Police Instagram Communication. Journal of Communication Management. https://www.emerald.com/insight/content/doi/ 10.1108/JCOM-03-2023-0033/full/html

Vaníčková, K. (2019). New Functionality, Security and Protection of CCTV Systems: Technological Progress and Digital Society Development. SHS Web of Conferences, 71. https://doi.org/ 10.1051/shsconf/201971030039)

Vilalta, Ramirez, P.I., & Fondevila, G. (2023). Testing The Local and Spatial Spillover Effects of Police Monitored CCTV Systems on Crime. Applied Geography, 151. http://doi10.1016/ j.apgeog.2023.102873

Vilalta, C., Sanchez, T.W., & Fondevila, G. (2019). A Descriptive Model of The Relationship between Police CCTV Systems and Crime. Evidence from Mexico City. Police Practice and Research, 20(2), 1-17. http://doi10.1080/15614263.2018.1473770

Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis (3rd ed). Harper and Row.

Yang, Y., Angelini, F., & Naqvi, S.M. (2022). Pose-driven Human Activity Anomaly Detection in a CCTV‐like Environment. IET Image Processing, 17(3). http://doi10.1049/i pr2.12664

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-29