ศักยภาพการใช้เทคโนโลยีบล็อกเชนต่อระบบการรายงานทางบัญชีในประเทศไทย
คำสำคัญ:
ศักยภาพ, เทคโนโลยีบล็อกเชน, ระบบการรายงานทางบัญชีบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจและประเมินศักยภาพของการใช้เทคโนโลยีบล็อกเชนต่อระบบการรายงานทางบัญชีในประเทศไทย โดยเน้นศึกษาผลกระทบและความเป็นไปได้ในการนำเทคโนโลยีนี้มาใช้ในทางปฏิบัติ งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้มีส่วนได้เสียและผู้ที่มีความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีบล็อกเชนในประเทศไทย จำนวน 192 คน ผ่านแบบสอบถามออนไลน์ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 20-29 ปี มีอาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชน นักศึกษา และมีประสบการณ์การใช้เทคโนโลยีบล็อกเชนมาก่อน โดยมีระยะเวลาในตำแหน่งงานปัจจุบันตั้งแต่ 7 ปีขึ้นไป วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) เพื่อทดสอบสมมติฐาน โดยกำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่า ปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อศักยภาพการใช้เทคโนโลยีบล็อกเชนในระบบการรายงานทางบัญชีคือ ความน่าเชื่อถือของเทคโนโลยี และการประยุกต์ใช้ในบริบทของประเทศไทย การค้นพบนี้ชี้ให้เห็นถึงความเป็นไปได้ของการนำบล็อกเชนมาใช้ในระบบการรายงานทางบัญชี โดยเฉพาะในด้านการเพิ่มประสิทธิภาพ และความโปร่งใสในการทำธุรกรรมทางการเงิน
References
จิรายุทธ์ ธราธรรุ่งเรือง และพัฒน์ พัฒนรังสรรค์. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้สกุลเงินดิจิทัลของธนาคารแห่งประเทศไทย. ใน เอกธิป สุขวาร (บ.ก.), UTTC Academic Day ครั้งที่ 4. การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิชาการระดับชาติ (น. 2587-2603). มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
ฐิตาภรณ์ สินจรูญศักดิ์ และอิศรา นาคะวิสุทธิ์. (2563). ผลกระทบของบล็อกเชนที่มีต่อความปลอดภัยข้อมูลบัญชี. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 7(5), 1-11.
พรรณนิภา รอดวรรณะ. (2564). สิ่งที่นักบัญชียุคใหม่ควรทราบ ตอนที่ 1 ความรู้ขั้นพื้นฐานด้านเทคโนโลยีบล็อกเชน (Blockchain). สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน). https://www.tfac.or.th/ Article/Detail/135089
พรรณนิภา รอดวรรณะ. (2564). การใช้เทคโนโลยีบล็อกเชนสำหรับภาครัฐ. สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน). https://www.tfac.or.th/Article/Detail/135089
พงศ์วิทย์ มีเนตรทิพย์ และอานนท์ ทับเที่ยง. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับเทคโนโลยี Blockchain เพื่อการออกแบบระบบการจัดการฐานข้อมูล. Engineering Transactions: A Research Publication of Mahanakorn University of Technology, 21(1), 1-6.
มณฑา ชยากรวิกรม, จันทร์เพ็ญ แก้วสว่าง, และประภาพร ใจดี. (2562). การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีบล็อกเชนในการจัดการข้อมูลทางการบัญชี. วารสารการบัญชีและการจัดการ, 11(2), 25-40
สนธยา แสงส่อง. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับเทคโนโลยี “Block chain” ในสถานศึกษา. วารสารรัชต์ภาคย์, 14(37), 70-79.
สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน). (2562). การใช้เทคโนโลยีบล็อกเชนสำหรับภาครัฐ (พิมพ์ครั้งที่ 1). สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน).
Cochran, W.G. (1977). Sampling techniques (3rd ed.). John Wiley & Sons.
Fakkruddien, N. (2021). Blockchain Technology and its Impact on Financial Inclusion. Journal of Financial Technology, 5(2), 100-115.
Johnson, D., Schwartz, D., & Taylor, R. (2017). Data Integrity in The Blockchain. Journal of Blockchain Research, 3(1), 45-61.
Johnson, S., Robinson P., & Brainard, J. (2019). Sidechains and Interoperability. arXiv. https://arxiv.org/abs/1903.04077
Nayyar, A., Gupta, N., & Kumar, A. (2020). Understanding the Impact of Age on the Acceptance of Digital Payments in India. Journal of Business Research, 112, 36-44.
Wang, R., Luo, M., Wen, Y., Wang, L., Choo, K.R., & He, D. (2021). The Applications of Blockchain in Artificial Intelligence. Wiley Online Library. https://doi.org/10.1155/ 2021/6126247
Schwartz, D., Johnson, D., & Green, M. (2019). Electronic Signatures in Cloud Storage. Cloud Computing and Accounting, 4(2), 22-34.
Smith, B. (2018). Generalizability in Qualitative Research: Misunderstandings, Opportunities and Recommendations for the Sport and Exercise Sciences. Qualitative Research in Sport, Exercise & Health, 10, 137-149.
Zarifis, A., Kawalek, P., & Azadegan, A. (2021). Evaluating if Trust and Personal Information Privacy Concerns are Barriers to Using Health Insurance that Explicitly Utilizes AI. Journal of Internet Commerce, 20(1), 66–83. doi:10.1080/15332861.2020.1832817
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
Copyright (c) วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร
วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร อยู่ภายใต้การอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License. (CC BY-Nc-ND 4.0) เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอย่างอื่น โปรดอ่านหน้านโยบายของเราสำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเข้าถึงแบบปิด ลิขสิทธิ์ และการอนุญาต