ความสัมพันธ์ระหว่างความเท่าเทียมระหว่างเพศในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ความพยายามทุ่มเท ความผูกพันต่องาน และความผูกพันต่อองค์การ ของบุคลากรโรงพยาบาล

ผู้แต่ง

  • ประทานพร สุรินต๊ะ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

คำสำคัญ:

ความเท่าเทียมระหว่างเพศ, การบริหารทรัพยากรมนุษย์, ความพยายามทุ่มเท, ความผูกพันต่องาน, ความผูกพันต่อองค์การ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเท่าเทียมระหว่างเพศในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ความพยายามทุ่มเท ความผูกพันต่องานและความผูกพันต่อองค์การ
ผลการศึกษาดังกล่าวจะถูกนำมาเปรียบเทียบความพยายามทุ่มเท ความผูกพันต่องาน และความผูกพันต่อองค์การระหว่างหน่วยงานที่มีความเท่าเทียมระหว่างเพศในการบริหารทรัพยากรมนุษย์สูงและต่ำออกแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างบุคลากรในโรงพยาบาลทั่วไป จำนวน 268 คน สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ การหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการวิจัย พบว่า 1) ความเท่าเทียมระหว่างเพศในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความพยายามทุ่มเท ความผูกพันต่องานอย่างมีนัยสำคัญ และความผูกพันต่อองค์การ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 และ .05 2) หน่วยงานที่มีความเท่าเทียมระหว่างเพศในการบริหารทรัพยากรมนุษย์สูง จะมีความพยายามทุ่มเท ความผูกพันต่องาน และความผูกพันต่อองค์การสูงกว่าหน่วยงานที่มีความเท่าเทียมระหว่างเพศในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ต่ำ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01

References

กันตพงศ์ รังษีสว่าง. (2558). พ.ร.บ.ความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 กับสิทธิของบุคคลหลากหลายทางเพศ. สืบค้นจาก http://www.nhrc.or. th/News/Information-News/.

คณาธิป ทองรวีวงศ์, กัณฑิมา ช่างทา, ภคมน สืบไชย, กุสุมา สุนประชา และ ชลธิชา สมสะอาด. (2560). กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ.

จิรประภา อัครบวร, รัตนศักดิ์ เจริญทรัพย์, จารุวรรณ ยอดระฆัง และ ขวัญ นวลสกุล. (2557).

Emo-meter (Employee Engagement on meter) เครื่องมือการวินิจฉัยความอยู่ดีมีสุขและความผูกพันของบุคลากร. กรุงเทพฯ: แฮฟ ไอเดีย.

ชัญญา ธนพัฒน์. (2558). อุปสรรคต่อความก้าวหน้าสู่ตาแหน่งบริหารของผู้หญิงในองค์กรภาครัฐของไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

ชูชัย สมิทธิไกร และ พงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์. (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันต่องานและความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. Kasetsart Journal of Social Sciences, 38(2), 655-667.

นวัสนันท์ วงศ์ประสิทธิ์. (2558). ความผูกพันของพนักงานต่อองค์กร: ความท้าทายของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่มีความหลากหลายของโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย. Journal of Community Development Research (Humanities and Social Sciences), 8(1), 16-31. สืบค้นจาก https://doi.org/10.14456/jcdr.v8i1.925

พัฒนพงศ์ โรจนวิภาต และ หควณ ชูเพ็ญ. (2558). การบริหารบุคคลเพื่อเสริมสร้างความเสมอภาคทางอาชีพระหว่างหญิงและชายของหน่วยงานภาครัฐในกรุงเทพมหานคร.

วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 8(ฉบับพิเศษ), 37-49.

วรชัย แสนสีระ. (2563). มุมสะท้อนความคิดนิติบัญญัติ: พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 กับการคุ้มครองบุคคลหลากหลายทางเพศ. สืบค้นจาก https://www.senate.go.th/assets/portals/93/fileups/272/files/S%E0%B9%88ub_Jun/9legal/legal75.pdf.

ศรัญยา แสงลิ้มสุวรรณ, สุพจน์ นาคสวัสดิ์, พูลพงศ์ สุขสว่าง และ กาญจนา แสงลิ้มสุวรรณ. (2556). การพัฒนาโมเดลความผูกพันของพนักงานต่อองค์การของพนักงานในบริษัทสัญชาติญี่ปุ่นในประเทศไทย. วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 19(2), 77-93.

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน). (2562). มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบับที่ 4 (พิมพ์ครั้งที่ 2). นนทบุรี: สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน).

สุพัตรา ธัญน้อม. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารทรัพยากรมนุษย์กับความผูกพันต่อองค์การ: กรณีศึกษา โรงเรียนลาซาล. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยสวนดุสิต, 8(3), 76-87.

สำนักพัฒนาระบบบริหารงานบุคคลภาครัฐ. (2549). คู่มือการสร้างความเสมอภาคระหว่างหญิงชายในส่วนราชการ (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง

ประเทศไทย.

อับซิซิส ฮามิ. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างความสอดคล้องของค่านิยมบุคคลกับองค์การ

ความผูกพันต่อองค์การและความพยายามทุ่มเทของพยาบาลวิชาชีพ. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, กรุงเทพฯ.

Allen, N. J. & Meyer, J. P. (1990). The measurement and antecedents of affective, continuance and normative commitment to the organization. Journal of occupational Psychology, 63(1), 1-18. Retrieved from https://doi.org/10.1111/j.2044-8325. 1990.tb00506.x

Bakker, A. B. & Demerouti, E. (2008). Towards a model of work engagement. Career development international, 13(3), 209-223. Retrieved from https://doi.org/10.1108/1362043 0810870476

Bakker, A. B., Schaufeli, W. B., Leiter M. P., & Taris, T.W. (2008). Work engagement:

An emerging concept in occupational health psychology. Work Stress, 22(3), 187-200. Retrieved from https://doi.org/10.1080/02678370802393649

Dessler, G. (2013). Human resource management (13th ed.). London: Pearson Education.

Glen, C. (2006). Key skills retention and motivation: The war for talent still rages and retention is the high ground. Industrial and Commercial Training, 38(1),

-45. Retrieved from https://doi.org/10.1108/00197850610646034

Hesketh, I., Cooper, L. C, & Ivy, J. (2016). Wellbeing and Engagement in Policing:

The Key to Unlocking Discretionary Effort?. Policing, 11(1), 62-73.

Retrieved from https://doi.org/10.1093/police/paw021

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-30