การเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรมการบริหารจัดการรูปแบบการขายธุรกิจ อาคารพักอาศัย ประเภทอาคารสูงในประเทศไทย
คำสำคัญ:
การขายแบบดั้งเดิม, การขายแบบสมัยใหม่, การขายแบบหลังสมัยใหม่บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบรูปแบบการขายแบบเก่าและแบบใหม่การขายธุรกิจอาคารพักอาศัยประเภทอาคารสูงในประเทศไทยและเพื่อนำเสนอนวัตกรรมเกี่ยวกับการปรับปรุงรูปแบบการขายแบบใหม่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการขายให้ประสบความสำเร็จของธุรกิจอาคารพักอาศัยประเภทอาคารสูงในประเทศไทย ผู้วิจัยใช้แนวคิดและการวิเคราะห์จากการที่ความต้องการขายที่สูงขึ้น (supply) ความต้องการซื้อเท่าเดิม (demand) เพื่อที่จะหาวิธีการบริหารจัดการงานขายที่แตกต่างไปจากเดิม (sales management) งานวิจัยนี้ทำการสังเคราะห์ข้อมูลและเสนอคำแนะนำ ผลการวิจัยพบว่าพนักงานขายอิสระที่มีความรู้เรื่องรูปแบบการขายแบบหลังสมัยใหม่ (postmodern marketing) สามารถเร่งยอดขายให้เพิ่มขึ้นจากวิธีการแบบดั้งเดิม (classical marketing) และการขายแบบสมัยใหม่ (modern marketing) อีกทั้งยังเป็นการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรมการบริหารจัดการรูปแบบการขาย เป็นสิ่งใหม่ที่เกิดขึ้นในตลาดที่ไม่เคยมีคู่แข่งขันทำมาก่อน
References
กนกวรรณ ศรีจันทร์หล้า. (2556). การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความต้องการซื้ออสังหาริมทรัพย์ของคนกรุงเทพมหานคร กรณีศึกษาบริษัท แสนสิริ จํากัด (มหาชน). (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ).
กิ่งแก้ว พรอภิรักษสกุล. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานขายของบริษัทยาในประเทศไทย. (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
เกริก บุณยโยธิน. (2561). ผ่ามุมมองธุรกิจอสังหาฯ-2. สืบค้นจาก https://propholic.com.
จารุณี วงศ์ลิมปิยะรัตน์. (2558). การเงินและการบัญชีเพื่อการบริหารเทคโนโลยีและนวัตกรรม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เจริญจิตต์ ผจงวิริยาทร. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อคอนโดมิเนียมในกรุงเทพมหานครของประชากรในกรุงเทพมหานคร. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).
โชคชัย ลิ้มสัสนานนท์. (2554). ปัจจัยที่ทำให้ผู้บริโภคเลือกซื้อคอนโดมิเนียมของบริษัท ควอลิตี เฮ้าส์ จำกัด (มหาชน) โครงการ คิวเฮ้าส์ คอนโด สาทร. (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ).
ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. (2543). วาทกรรมการพัฒนา: อำนาจ ความรู้ ความจริง เอกลักษณ์ และความเป็นอื่น. กรุงเทพฯ: วิภาษา.
ธนพิชญ์ บงกชเพชร. (2553). ปัญหากลยุทธ์ธุรกิจ และกลยุทธ์การตลาดเพื่อสร้างความได้เปรียบ ทางการแข่งขันกรณีศึกษา บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จำกัด (มหาชน). (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย).
บัวทิพย์ พรหมศร. (2551). กลยุทธ์การตลาดธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในเขตกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย).
มาฤษา ชูนาวา. (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อการขายคอนโดมิเนียม มุมมองเจ้าของโครงการ กรณีศึกษา บริษัท แอล. พี. เอ็น. ดีเวลลอปเมนต์ จำกัด (มหาชน). (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง).
ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2541). นโยบายธุรกิจและการบริหารเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ: ดวงกมล.
อภิชิต สุขสินธ์. (2551). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อคอนโดมิเนียมของประชากรใน กรุงเทพมหานคร. (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ).
อานันท์ กาญจนพันธุ์. (2552). คิดอย่างมิเชล ฟูโกต์ คิดอย่างวิพากษ์: จากวาทกรรมของอัตบุคคลถึงจุดเปลี่ยนของอัตตา. เชียงใหม่: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
Baudrillard, J. (1981). For a Critique of the Political Economy of the Sign. Translator by Charles Levin. New York: Telos Press Publishing.
Foucault, M. (1994). Aesthetics, Method and Epistemology: Essential Works of Foucault 1954-1984 (2rd ed). London: Penguin Books.
Foucault, M. (1972). The archaeology of knowledge. London: Tavistock Publications.
Foucault, M. (1980). Power/Knowledge: Selected Interviews and Other Writing 1972-1977. New York: Pantheon Books.
Naidoo, V. (2010). Firm Survival through a Crisis: The Influence of Market Orientation, Marketing Innovation and Business Strategy. Industrial Marketing Management, 39 (8), 1311-1320.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ ผู้นิพนธ์
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และคณาจารย์ท่านอื่น ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว