แนวทางการจัดการทางการตลาดของวิสาหกิจขนาดย่อม กรณีศึกษาห้างหุ้นส่วนจำกัดท่งเฮงกี่ จังหวัดลำปาง

ผู้แต่ง

  • ชนกานต์ ไวสติ โรงเรียนนานาชาติอังกฤษแห่งภาคเหนือ
  • ตุลาการ โชติคุณานนท์ โรงเรียนนานาชาติอังกฤษแห่งภาคเหนือ
  • พงศ์ศิริ คำขันแก้ว มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่

คำสำคัญ:

การตลาด, ส่วนประสมทางการตลาด, วิสาหกิจขนาดย่อม, ธุรกิจการผลิตอาหาร

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มุ่งวิเคราะห์จุดอ่อน และจุดแข็งส่วนประสมทางการตลาดของห้างหุ้นส่วนจำกัดท่งเฮงกี่ จังหวัดลำปาง และพัฒนาแนวกลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาดของ ห้างหุ้นส่วนจำกัดท่งเฮงกี่ จังหวัดลำปาง ด้วยระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพแบบกรณีศึกษาถูกนำมาใช้เป็นระเบียบวิธีการวิจัย ผู้ที่มีส่วนได้เสียกับองค์กร 3 ราย คือผู้ให้ข้อมูลหลัก ทั้งนี้การเก็บรวบรวมข้อมูลผ่านการรวบรวมเอกสารที่เกี่ยวข้อง การสังเกตแบบมีส่วนร่วม และการสัมภาษณ์เชิงลึก รวมถึงการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการจัดประเภทของข้อมูลและวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยแสดงถึงจุดแข็ง และจุดอ่อนของห้างหุ้นส่วนจำกัดท่งเฮงกี่ถูกนำเสนอเป็นแนวทางส่วนประสมทางการตลาดที่เหมาะสมแก่ห้างหุ้นส่วนจำกัดท่งเฮงกี่ จากการวิจัยครั้งนี้ได้ให้ข้อเสนอแนะแก่ผู้ประกอบการห้างหุ้นส่วนจำกัดท่งเฮงกี่เพื่อเป็นแนวทางในการเสริมสร้างให้สามารถผ่านพ้นอุปสรรคการจัดการทางการตลาดให้ประสบความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจต่อไป

References

ชัยมงคล ผลแก้ว. (2560). การใช้สารสนเทศทางการบัญชีในการพัฒนาความได้เปรียบทางการแข่งขัน ของ SMEs กรณีศึกษาธุรกิจสิ่งทอและแฟชั่นในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารการตลาดและการจัดการ, 4(1), 15 - 28.

ณิชารีย์ ปัญจวิโรจน์ และพงศ์ศิริ คำขันแก้ว. (2560). ตัวแบบพยากรณ์ผลการดำเนินงานที่ไม่ใช่การเงินของวิสาหกิจขนาดย่อมในจังหวัดลำปาง : บทบาทของความเป็นผู้ประกอบการ. ในการประชุมผลงานวิจัยด้านการจัดการธุรกิจ ครั้งที่ 10 (น. 524). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ณัฐฏณิชา การัณย์สกุล และอัมพน ห่อนาค. (2556). แผนการตลาดเพื่อเพิ่มยอดขายมะละกอดิบของ ร้านเจ้ตี๋มะละกอ อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี. วารสารวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ, 6(2), 53 - 70.

พงศ์ศิริ คำขันแก้ว. (2560). องค์ประกอบการบริหารแบรนด์เชิงกลยุทธ์สําหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในประเทศไทย: หลักฐานเชิงประจักษ์ผ่านการวิเคราะห์ปัจจัยเชิงยืนยัน. วารสารปาริชาต, 30(3), 164 - 175.

พงศ์ศิริ คำขันแก้ว (2561). อุปสรรคการส่งออกของการดำเนินงานธุรกิจระหว่างประเทศ : ประเด็นความท้าทายสำหรับผู้ประกอบการในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์, 20(8), 161 - 167.

วรีรัตน์ ชแนลล์ (2562). ผู้ประกอบการ ห้างหุ้นส่วนจำกัด ท่งเฮงกี่. [วัสดุบันทึกเสียง]. ลำปาง: โรงเรียนนานาชาติอังกฤษแห่งภาคเหนือ.

วิทวัส รุ่งเรืองผล. (2559). หลักการตลาด. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ศิรดา สมเทศน์ และทิพย์วรรณา งามศักดิ์. (2562). การวางแผนการตลาดเพื่อเพิ่มยอดรายได้ของฟาร์มผักไฮโดรโปนิกส์ “23 ไฮโดรฟาร์ม ชุมแพ” ในเขตเทศบาลเมืองชุมแพ อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น. วารสารวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ, 11(1), 57 - 72.

ศิริพันธ์ จุรีมาศ, พัชราภรณ์ ลิมปิอังคนันต์, พงศ์ศิริ คำขันแก้ว, ดาริณี ตัณฑวิเชฐ และ เจษฐา ภัทรายุตวรรตน์. (2562). การพัฒนาระบบบัญชีของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรผู้เลี้ยงโคเนื้อ ตำบลสันป่าเปา อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่. วารสารการตลาดและการจัดการ, 6(2), 114 - 123.

สถาบันอาหาร. (2559). การศึกษาศักยภาพ และโอกาสทางการตลาดของอุตสาหกรรมอาหารอนาคตปี 2560 (รายงานการวิจัย). กรุงเทพมหานคร: สถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรม.

สืบชาติ อันทะไชย. (2552). การบริหารการตลาด. อุดรธานี: คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี.

สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม. (2561). รายงานสถานการณ์วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ปี 2560. กรุงเทพฯ: สำนักข้อมูลและวิจัย สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม.

อัญญาณี อดทน อมรรัตน์ พรประเสริฐ และภีม พรประเสริฐ. (2562). การกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมของสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ประเภทข้าวกล้องงอกในจังหวัดอุบลราชธานี. วารสารศรีวนาลัยวิจัย, 8(2), 95 - 108.

Gilligan, C. & Wilson, R. M. S. (2003). Strategic Marketing Planning. UK: Butterworth- Heinemann

Kotler, P. (2013). Marketing Management. New Jersey: Prentice-Hall.

Kotler,P., Armstrong, G. & Opresnik, M.A. (2018). Principles of Marketing. London:

Pearson Education.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-10-12