อิทธิพลของปัจจัยด้านการรับรู้ของผู้ใช้ที่ส่งผลต่อความตั้งใจในการใช้งานนวัตกรรม ศูนย์ดิจิทัลเพื่อการท่องเที่ยวและบริการของประเทศไทย

Main Article Content

มงคล วิมลรัตน์
ชัยธนัตถ์กร ภวิศพิริยะกฤติ
พิมพ์พลอย ธีรสถิตธรรม

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับของการรับรู้ประโยชน์ การรับรู้ความง่ายในการใช้งาน การรับรู้ความเสี่ยง การรับรู้ประสิทธิผลนโยบาย และความตั้งใจใช้งาน (2) ศึกษาอิทธิพลของการรับรู้ประโยชน์ การรับรู้ความง่ายในการใช้งาน การรับรู้ความเสี่ยง และการรับรู้ประสิทธิผลนโยบาย ต่อความตั้งใจใช้งาน และ (3) สร้างแบบจำลองปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับการใช้งานศูนย์ดิจิทัลเพื่อการท่องเที่ยวและบริการของประเทศไทย เปนการวิจัยแบบผสานวิธี เก็บรวบรวมขอมูลจากการวิจัยเอกสารโดยการสัมภาษณเชิงลึกและการอภิปรายกลุ่มสนทนาแบบเจาะจง ตัวอย่างเชิงปริมาณ คือ นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติที่เคยใช้บริการศูนย์ดิจิทัล จำนวน 500 คน ผูใหขอมูลหลักเลือกแบบเจาะจงจากกลุมข้าราชการในหน่วยงานภาครัฐ ผู้ประกอบการเอกชน และผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและงานบริการ จํานวน 18 คน ทั้งนี้ เพื่อนํามาหาขอสรุปดวยการวิเคราะหเนื้อหาและเสนอแนะอางอิงทฤษฎีดําเนินการจัดระเบียบขอมูล และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และโมเดลสมการโครงสร้าง


ผลการวิจัย พบว่า (1) การรับรู้ประโยชน์ การรับรู้ความง่ายในการใช้งาน การรับรู้ความเสี่ยง การรับรู้ประสิทธิผลนโยบาย และความตั้งใจใช้งานศูนย์ดิจิทัลอยู่ในระดับสูง (2) การรับรู้ประโยชน์ การรับรู้ความง่ายในการใช้งาน และการรับรู้ประสิทธิผลนโยบาย มีอิทธิพลเชิงบวกต่อความตั้งใจใช้งานศูนย์ดิจิทัล ในขณะที่การรับรู้ความเสี่ยงมีอิทธิพลเชิงลบต่อการรับรู้ประโยชน์และความตั้งใจใช้งานศูนย์ดิจิทัล และ (3) แบบจำลองปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับการใช้งานศูนย์ดิจิทัลเพื่อการท่องเที่ยวและบริการของประเทศไทย มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์

Article Details

How to Cite
วิมลรัตน์ ม., ภวิศพิริยะกฤติ ช., & ธีรสถิตธรรม พ. . (2025). อิทธิพลของปัจจัยด้านการรับรู้ของผู้ใช้ที่ส่งผลต่อความตั้งใจในการใช้งานนวัตกรรม ศูนย์ดิจิทัลเพื่อการท่องเที่ยวและบริการของประเทศไทย. วารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์, 15(1), 290–308. สืบค้น จาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/phdssj/article/view/274179
บท
บทความวิจัย

References

Agnes, E. (1999). Webster’s New World college dictionary (4th ed.). Wiley & Sons.

Ajzen, I. (1991). The theory of planned behavior. Organizational Behavior and Human Decision

Processes, 50(2), 179-211.

Ajzen, I., & Fishbein, M. (1988). Theory of reasoned action-theory of planned behavior. University

of South Florida, Tampa.

Alsmadi, D., Halawani, M., Prybutok, V., & Al-Smadi, R. (2022). Intention, trust and risks as core

determinants of cloud computing usage behavior. Journal of Systems and Information

Technology, 24(3), 178-201.

Bhatt, K. (2021). Adoption of online streaming services: Moderating role of personality traits.

International Journal of Retail & Distribution Management, 50(4), 437-457.

Boonyoo, S., Suphaphattharaphisan, C., Boonmakerd, K., Boonthanon, S., & Boonyoo, T. (2022). Influence of technology acceptance and trust on the intention in using QR code payment system of consumers in Bangkok. Journal of Liberal Arts and Service Industry, 5(1), 45-56. [In Thai]

Chaisanit, S. (2012). Innovation and technology. Retrieved from https://settachai.wordpress.com/ 2012/08/13/นวัตกรรมและเทคโนโลยี [In Thai]

Comrey, A. L., & Lee, H. B. (1992). A first course in factor analysis (2nd ed.). Psychology Press.

Cronbach, L. J. (1984). Essentials of psychological testing (4th ed.). Harper & Row.

Davis, F. D. (1989). Technology Acceptance Model: TAM. In M. N. Al-Suqri & A. S. Al-Aufi (Eds.), Information seeking behavior and technology adoption (pp. 205-219). IGI Global.

Department of Tourism. (2022). Tourism service development plan 2023-2027. Author. [In Thai]

Hair, J., Black, W., Babin, B., Anderson, R., & Tatham, R. (2006). Multivariate data analysis (6th ed.). Pearson Prentice Hall.

Hiranphaet, A., Sooksai, T., Aunyawong, W., Poolsawad, K., Shaharudin, M. R., & Siliboon, R. (2022). Development of value chain by creating social media for disseminating marketing content to empower potential of participatory community-based tourism enterprises. International Journal of Mechanical Engineering, 7(5), 431-437.

Jhantasana, C., Munsawat, K., Maithomklang, S., & Chanchachot, A. (2017). Acceptance and usage

of mobile phone for accessing to information of university using pls-sem case study of Faculty of Management Science of Valayaalongkorn Rajabhat University. RMUTT Global Business and Economics Review, 12(1), 161-176. [In Thai]

Likert, R. (1967). The human organization: Its management and values. McGraw-Hill.

Office of the National Tourism and Sports Policy Committee of Thailand. (2023). National

Tourism Development Plan No. 3 (2023-2027). Author. [In Thai]

Office of the Secretary of National Addiction treatment & Rehabilitation Committee. (2022).

Measures to prevent and control the outbreak of the coronavirus 2019. Retrieved from

https://ncmc.moph.go.th/home/index/detail/29762 [In Thai]

Pallant, J. (2010). SPSS survival manual: A step by step guide to data analysis using the SPSS program (4th ed.). McGraw-Hill.

Rogers, E. M. (2002). Diffusion of preventive innovations. Addictive Behaviors, 27(6), 989-993.

Rubin, H. J., & Rubin, I. S. (2012). Qualitative interviewing: The Art of Hearing Data (3rd ed.). Sage.

Thailand Tourism Directory. (2021). Data management performance report. Retrieved form https://www.thailandtourismdirectory.go.th [In Thai]