แนวทางการเตรียมความพร้อมและวิธีการเรียนสำหรับผู้เริ่มเรียนภาษาจีน
Main Article Content
Abstract
ภาษาจีนนับเป็นภาษาต่างประเทศที่มีความสำคัญภาษาหนึ่ง ซึ่งมีผู้ใช้มากเป็นลำดับสองรองจากภาษาอังกฤษ ผู้เรียนส่วนใหญ่ที่เริ่มเรียนภาษาจีนล้วนแต่คิดว่า การเรียนภาษาจีนเป็นสิ่งที่ยากลำบาก แต่ถ้ามีความชอบหรือสนใจในภาษาจีน และเข้าใจเทคนิคและวิธีการเรียนภาษาจีนอย่างถูกต้อง เราก็จะสามารถเรียนภาษาจีนได้ไม่ยาก กล่าวคือ สิ่งที่ควรจะมีในการเรียนภาษาจีนสำหรับผู้เริ่มเรียนเพื่อนำไปสู่ความสำเร็จ ประกอบด้วย 1. ความสนใจและอยากเรียนรู้ภาษาจีน 2. การมีความพร้อมในห้องเรียน และ 3. การฝึกการเรียนรู้คำศัพท์ภาษาจีน ภาษาจีนไม่ได้เป็นเพียงแค่ภาษาแต่เป็นแหล่งรวมวัฒนธรรม หรืออาจจะเรียกว่าพหุวัฒนธรรม ดังนั้น การเรียนภาษาจีนจะต้องตั้งใจฟัง พูด อ่าน เขียน และเข้าใจพื้นหลังทางวัฒนธรรม เพื่อพัฒนาให้ครบทุกด้าน นอกจากนี้ความตั้งใจ ความขยัน การไม่หยุดที่จะเรียนรู้ ไม่หยุดที่จะแสวงหาสิ่งใหม่ๆ จะทำให้เรียนภาษาจีนได้ประสบความสำเร็จมากยิ่งขึ้น
Article Details
References
2.เขียน ธีระวิทย์ และคณะ. (2551). การเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย: ระดับประถมและมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
3.จิราพรรณ สายสืบ. (2559). การพัฒนาทักษะการจำคำศัพท์และการอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาจีนโดยใช้การ์ดคำศัพท์ทบทวนด้วยตัวเองนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ห้อง 201 คณะอุตสาหกรรมท่องเที่ยว. รายงานการวิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ.
4.ชัยพร วิชชาวุธ. (2540). ความจำมนุษย์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชวนพิมพ์.
5.โชติกานต์ ใจบุญ. (2559). กลยุทธ์การจำและการสอนภาษาจีน. Proceedings. การประชุมวิชาการนำเสนอ บทความวิชาการ
ระดับชาติ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, กรุงเทพมหานคร. 29-40.
7.ทอร์นเบอรี่, สก๊อต. (2546). วิธีสอนคำศัพท์. แปลโดย อบตา เวชพฤติ, นิภาวรรณ ชูรัตนสิทธ์ิ และวีณา เกียรติอนุพงศ์. กรุงเทพฯ:ซีเอ็ดยูเคชั่น.
8.นันทิดา ปินะสุ. (2555). การพัฒนาทักษะการจำคำศัพท์และการอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาจีนโดยใช้การ์ดคำศัพท์ทบทวนด้วย
ตัวเอง. รายงานการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสัตหีบ.
9.นิภา ผินกลับ. (2558). การพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงคำศัพท์ภาษาจีนโดยใช้การ์ดคำศัพท์คำศัพท์ทบทวนด้วยตัวเองของ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. รายงานการวิจัย โรงเรียนอัสสัมชัญแผนกประถม.
10.นุชนาฎ วรยศศรี. (2544). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนภาษาอังกฤษของนักศึกษาสถาบันเทคโนโลยี
ราชมงคลพระนครใต้. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต (การอุดมศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
11.พรสวรรค์ สีป้อ. (2550). สุดยอดวิธีสอนภาษาอังกฤษ. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.
12.ลู่ฮว๋า. (2015). “จีน-ไทยมิใช่อื่นไกลพี่น้องกัน” ความรู้สึกที่สัมผัสได้ระหว่างการสอนภาษาจีน. วารสารสถาบันขงจื้อ ฉบับ
ภาษาจีนไทย, 29(2),62-67.
13.สำเนา ศรีประมงค์. (2547). การศึกษาผลการใช้เกมคำศัพท์ประกอบการสอนที่มีต่อความคงทนในการเรียนรู้คำศัพท์ภาษา
อังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง. ปริญญานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาการสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
14.สุวัฒน์ ทาสุคนธ์. (2559). ความคิดของขงจื๊อเพื่อสังคมที่เป็นสุข. วารสารรามคำแหงฉบับมนุษยศาสตร์, 35(1),65-88.
15.หวาง ฉิน. (2010). ความหมายเชิงลึกของคำว่า“学”วิธีการเรียนใน“หลุนอวี่”. วารสารสถาบันขงจื่อ ฉบับภาษาจีนไทย, 1(2),35-37.
16.Asiguli, A. (2011). For the Absorption of Uyghur Wooden Printing Elements, Development the Regional
Characteristics of Xinjiang Woodblock Preliminary Exploration[D]. Urumqi: Xinjiang
Normal University.
17.Atkinson, L., Atkinson, C. & Hilgard, Er R. (1981). Introduction to Psychology. (8th ed.). New York:
Harcourt Brace Jovanovich.
18.Brown, H.D. (2000). Principle of language learning and teaching. (4th ed.). whiteplain, NY: Addison
Wesley longman.
19.Dolch Word. (Online). Available : https://www.dolchword.net. 27 October 2007.
20.Laufer, B. (1989). What percentage of text-lexis is essential for comprehension?In C. Lauren and M. Nordman
(eds.), Special Language: From Humans Thinking to Thinking Machines. Clevedon: Multilingual
Matters.
21.Lu Sheng. (2553). การพัฒนารูปแบบการสอนการออกเสียงภาษาจีนโดยใช้สัทอักษรและปฏิสัมพันธ์สำหรับนักศึกษาจีน.
วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.
22.Masgorert, A.M. & Gardner, R.C. (2003). Attitudes, Motivation,and Second Language Learning:
A meta-analysis of studies conducted by Gardner and Associates. Language Learning, 53(1), 123-163.
23.Qian, D. (1999). Assessing the Roles of Depth and Breadth of Vocabulary Knowledge in Reading
Comprehension. Canadian Modern Language Review, 56,(2), December 1999.
24.Reimann, A. (2001). Motivation for acquiring English as a second language: an investigation of Chinese and
german native speakers. Tokohagakuen University. Faculty of Foreign Studies.
25.Srikrai,P.S. (2008). Project-based learning in EFL classroom. Journal of humanity and sociology of Khonkaen
university, 25(1), 53-79.
26.Treichler, D. G. (1967). Are you missing the boat in training aids?. Film and Audio-Visual Communication,
1, 14-16, 28-30, 48.
27.Vaezi, Z. (2008). Language learning motivation among Iranian undergraduate student. World applied Sciences
Journal, 5(1), 54-61.
28.Walberg, H.J. (1989). The effective teacher. NewYork: McGraw-Hill.
29.Zhao minghui. (2012). Chinese vocabulary Teaching of Thai collage student based on memory staegies.
master’s thesis teaching Chinese to speakers of other languages. College of International
Education, Shandong University.