การดูแลระยะรอคลอดด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์: บริบทชายแดนใต้
Main Article Content
Abstract
การคลอดเป็นกระบวนการทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นกับผู้คลอด ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านกายวิภาคและสรีรวิทยาตามระยะต่างๆ ของการคลอด โดยเฉพาะระยะรอคลอดเป็นระยะที่มีช่วงเวลายาวนานอาจส่งผลกระทบด้านร่างกาย จิตใจ จิตสังคม และจิตวิญญาณ การดูแลในระยะนี้ส่วนใหญ่มุ่งเน้นทางด้านร่างกายเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นกับผู้คลอดและทารก ทำให้การดูแลไม่ครอบคลุมด้านจิตใจ จิตสังคม และจิตวิญญาณ ซึ่งเป็นสิ่งที่สำคัญไม่น้อยไปกว่าการดูแลด้านร่างกาย ประกอบกับบริบทชายแดนใต้ลักษณะพื้นที่มีความแตกต่างทั้งทางด้านค่านิยม ความเชื่อ และวัฒนธรรมส่งผลให้ผู้คลอดมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่แตกต่างกันไป ดังนั้นการดูแลด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์บริบทชายแดนใต้ จึงมีความสำคัญที่ช่วยส่งเสริมให้ผู้คลอดสามารถเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในทุกด้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ บทความนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประเด็นหลัก คือ 1) เพื่อนำเสนอแนวคิดการเปลี่ยนแปลงในระยะรอคลอด 2) แนวคิดการดูแลด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์และ 3) แนวคิดการดูแลในระยะรอคลอดด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์บริบทชายแดนใต้ ซึ่งประกอบด้วย Context คือ การดูแลเกี่ยวกับสถานที่ บรรยากาศ และสิ่งแวดล้อมภายในห้องคลอด Accept คือ การดูแลที่ยอมรับความเป็นปัจเจกบุคคลของผู้คลอด Religion คือ การดูแลที่ตอบสนองการดำเนินชีวิติตามค่านิยม วัฒนธรรม ความเชื่อ และหลักศาสนาของผู้คลอด และ Empathy คือ การดูแลโดยการเอาใจเขามาใส่ใจเรา ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความเข้าใจเรื่องการดูแลระยะรอคลอดด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ในบริบทชายแดนใต้มากยิ่งขึ้น
Article Details
References
2559, จาก https://www2.tsu.ac.th/health_sci/main.
2.โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2552). Humanized health care คืออะไร. สืบค้นเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2559, จาก
https:// www.gotoknow.org/blog/spiritualhealth/205584.
3.จิริยา อินทนา และเยาวลักษณ์ มีบุญมาก. (2557). หน่วยที่ 1 ความเป็นจริงของการบริการสุขภาพกับการบริการด้วยหัวใจ
ความเป็นมนุษย์. ใน บริการสุขภาพแบบไหน : เข้าใจความเป็นมนุษย์. ราชบุรี: วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรี.
4.จารุวรรณ บุญรัตน์ และสุพัตรา อุปนิสากร. (2555). การดูแลด้านจิตวิญญาณในผู้ป่วยวิกฤตและครอบครัวในไอซียู:
ประสบการณ์ทางการพยาบาล. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 4(1), 1-13.
5.จันทร์เพ็ญ สันตวาจา. (2553). แนวคิดพื้นฐาน ทฤษฎีและกระบวนการพยาบาล. (พิมพ์ครั้งที่ 6). นนทบุรี: โครงการสวัสดิการ
วิชาการ สถาบันพระบรมราชนก.
6.จินดามาศ โกศลชื่นวิจิตร. (2556). การดูแลอย่างเอื้ออาทร:หัวใจสำ�คัญของการบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ, 29(3), 134-141.
7.ทัศนีย์ ทองประทีป. (2552). จิตวิญญาณ: มิติหนึ่งของการพยาบาล. กรุงเทพฯ: วี.พริ้นท์.
8.ธิดารัตน์ คำบุญ. (2551). พลังสัมผัส : พลังบำบัดจากกายสื่อถึงใจ. พยาบาลสาร, 35(4), 77-85.
9.ธวัลรัตน์ กิตติศักดิ์, นันทพร แสนศิริพันธ์ และกรรณิการ์ กันธะรักษา. (2556). ความกลัวการคลอดบุตรในสตรีมีครรภ์ และ
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง. พยาบาลสาร, 4(ฉบับพิเศษ), 12-21.
10.นฤนาท ยืนยง. (2552). พฤติกรรมเชิงจริยธรรมของพยาบาลวิชาชีพ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี, 1(1), 110-123.
11.บุญสืบ โสโสม, ยอดสร้อย วิเวกวรรณ และเยาวดี สุวรรณนาคะ. (2560). รูปแบบของการให้บริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์
สำหรับการพยาบาลหญิงตั้งครรภ์: องค์ความรู้จากประสบการณ์ของนักศึกษาพยาบาล, วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์
มจร., 5(2), 263-276.
12.ประเวศ วะสี. (2543). สุขภาพในฐานะอุดมการณ์ของมนุษย์. (พิมพ์ครั้งที่ 4). นนทบุรี: สำนักงานปฏิรูประบบสุขภาพ.
13.ประเวศ วะสี. (2550). การเข้าถึงความจริง ความดี ความงาม. ใน สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลหนังสือแบ่งปัน
และเติมเต็ม: Humanized Health Care คืนหัวใจให้ระบบสุขภาพ. กรุงเทพฯ: สหไพศาล.
14.ไพจิตร์ วราชิต. (2553). แนวนโยบายการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล. ใน เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ
15.การพัฒนาเพิ่มศักยภาพบุคลากรในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัด มหาสารคาม. มหาสารคาม:
กลุ่มงานพัฒนาทรัพยากรบุคคล จังหวัดมหาสารคาม.
16.มกราพันธุ์ จูฑะรสก. (2551). การคิดอย่างเป็นระบบ.โครงการสวัสดิการวิชาการสถาบันพระบรมราชนก. กรุงเทพฯ:ธนาเพรส.
17.มณีภรณ์ โสมานุสรณ์. (2554). การพยาบาลสูติศาสตร์ เล่ม 2. (พิมพ์ครั้งที่ 9). นนทบุรี: สถาบันพระบรมราชชนก.
18.มาลีวัล เลิศสาครศิริ. (2558). การพยาบาลสตรีในระยะตั้งครรภ์และระยะคลอด. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์อัสสัมชัญ.
19.วัลภา คุณทรงเกียรติ. (2551). จิตวิญญาณในมุมมองของตะวันออกและตะวันตก. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัย
บูรพา, 16(1), 1-8.
20.วรุณยุพา รอยกุลเจริญ. (2550). การปฏิบัติการพยาบาล:การดูแลด้วยหัวใจของความเป็นมนุษย์. วารสารสภาการพยาบาล,
22(3), 5-8.
21.วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนียะลา. (2559). คู่มือวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนียะลา. ยะลา:วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนียะลา.
22.วิไลลักษณ์ ตันติตระกูล. (2552). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความผาสุกทางจิตวิญญาณของผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย.
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
23.วีรวรรณ ภาษาประเทศ, เพ็ญพักตร์ ลูกอินทร์, และสิตานันท์ ศรีใจวงศ์. (2556). การพยาบาลระยะคลอด. นนทบุรี: โครงการ
สวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก
24.ศิริพันธุ์ ศิริพันธุ์. (2557). การพยาบาลมารดาหลังคลอดที่มีความต่างทางวัฒนธรรม. นราธิวาส: โรงพิมพ์นราธิวาส.
25.สมจิต หนุเจริญกุล. (2554). การบริการสุขภาพด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์. เอกสารประกอบการประชุมการบูรณาการสอนด้วย
หัวใจความเป็นมนุษย์ครั้งที่ 2. วันที่ 12-13 กันยายน 2554. ราชบุรี: วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีราชบุรี.
26.สุกัญญา ปริสัญญกุล และนัททพร แสนศิริพันธ์. (2553). การพยาบาลสตรีในระยะคลอด. (พิมพ์ครั้งที่ 2). เชียงใหม่: บริษัท
นันทพันธ์พริ้นติ้ง จำ�กัด.
27.สุกัญญา ศิริโสภารักษ์ และอารีย์วรรณ อ่วมตานี. (2557). ประสบการณ์การเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ดูแลผู้ป่วยด้วยหัวใจของ
ความเป็นมนุษย์. วารสารพยาบาลทหารบก, 15(2), 289-297.
28.สุณี วงศ์คงคาเทพ. (2550). รายงานวิจัยประเมินผลผู้เรียนกับการสอนแบบบูรณาการ. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์
29.สุรีย์ ธรรมิกบวร. (2559). การพัฒนาศักยภาพบุคลากร: การพยาบาลด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์. สืบค้นเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม
2559, จาก https://www.nurse.ubu.ac.th/sub/knowledgedetail/1.pdf.
30.อังคณา วังทอง, อนุชิต วังทอง, ต่วนฮานาณี วัดเส็น และวันดี สุทธรังสี. (2556). มุมมองผู้รับบริการต่อการพยาบาลด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ในพื้นที่ต่างวัฒนธรรม บริบทอำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข, 23(3), 35-44.
31.Alehagen, S., Wijma, K., & Wijma, B. (2001). Fear during labor. Acta Obstetriciaet Gynecologica Scandinavia,
80(4), 315–320.
32.Eriksson, C., Westman, G., & Hamberg, K. (2005). Experiential factorsassociatedwithchildbirth-related fear
in Swedish wamen and men: A population based study. Journal of Psychosomatic Obstetrics &
Gynecology, 26(1), 63-72.
33.Fawzy, F.I. (1999). Psychosocial interventions for patients with cancer: what works and what doesn’t. European
Journal of Cancer, 35(11),1559-1564..
34.Gibson, C.H. (1991). A concept analysis of empowerment. Journal of Advanced Nursing, 16(3), 354-361.
35.Kantaruksa, K. (2001). Transition experience of Thai women during their first pregnancy. Unpublished doctor
dissertation, Chiang Mai University, Chiang Mai, Thailand.
36.LaMonica, E, Wolf, R., Madea, A., & Oberst, M. (1978). Empathy and nursing care outcomes. Scholarly Inquiry
for Nursing Practice, 1(3), 197-213.
37.Laursen, M., Hedegaard, M., & Johansen, C. (2008). Fear of childbirth: Predictors and temporal changes
among nulliparous women in the Danish Nation birth cohort. BJOG: An InternationalJournal of
Obstetrics and Gynecology, 115(3), 354-360.
38.May, K.A. & Mahlmeister, L.R. (1990). Comprehensive maternity nursing: Nursing process and the
childbearing family. (2nd ed). Philadelphia: J. B. Lippincott.
39.Pillitteri, A. (2007). Maternal & child health nursing: Care of the childbearing & Childrearing family. (5th ed.).
Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins.
40.Sherwood, G. (1997). Meta-synthesis of qualitative analyses of caring: Defining a therapeutic model of
nursing. Advanced Practice Nursing Quuarterly, 3(1), 32-42.
41.Swanson, K. M. (1991). Empirical development of a middle range theory of caring. Nursing Research, 40(3), 161-166.
42.Waldenstrom, U., Hildingsson, I., & Ryding, E. L. (2006). Antenatal fear of childbirth and its association
with subsequent caesarean section and experience of childbirth. An International Journal of
Obstetrics and Gynecology, 113(6), 638–646.
43.Watson, J. (1988). Nursing: Human science and human care: A theory of nursing. (2nd ed.). Norwalk:
Connecticut, Appletion-Century Crofts.