ธรรมาภิบาล วัฒนธรรมองค์การ ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของหลักธรรมาภิบาล วัฒนธรรมองค์การที่ส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การในการบริหารงานของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง ผู้บริหารจำนวน 174 คน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอนจากเทศบาล 347 แห่ง เป็นนายกเทศบาล จำนวน 87 คน ละปลัดเทศบาล จำนวน 87 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับวิจัยทางสังคมศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน (Stepwise multiple regression analysis)
ผลจากการวิจัย พบว่า ธรรมาภิบาล และวัฒนธรรมองค์การที่เข้าในสมการถดถอยพหุคูณมีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลองค์การของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.001 โดยวัฒนธรรมพันธกิจส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.001 ส่วนธรรมาภิบาลด้านหลักการบริหารจัดการส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การของเทศบาลในเขตภาคใต้ของประเทศไทย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 โดยปัจจัยดังกล่าวสามารถร่วมกันอธิบายประสิทธิผลองค์การของเทศบาลได้ ร้อยละ 56.80
Article Details
References
กมลลักษณ์ ธนานันต์เมธี. (2559). อิทธิพลของธรรมาภิบาลและวัฒนธรรมองค์การที่ส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การขององค์การ
บริหารส่วนตำบลในเขตภาคเหนือของประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 26 พฤศจิกายน 2559, จาก https://www.ar.or.
th/ImageData/Magazine/10041/DL_EN_10241.pdf? t=636161968521291011.
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (2560). ข้อมูลจำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. สืบค้นเมื่อ 6 มกราคม 2561, จาก https://
www.dla.go.th/work/abt/
กาญจนา เกสร. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมองค์การกับประสิทธิผลของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
เจตน์สฤษฎิ์ สังขพันธ์. (2554). โมเดลเชิงสาเหตุผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในภาวะรอพินิจของนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วิทยาเขตหาดใหญ่. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนามนุษย์และสังคม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
เจตน์สฤษฎิ์ สังขพันธ์, ชุติมา หวังเบ็ญหมัด, รัชตา ธรรมเจริญ, สิริลักษณ์ ทองพูน, ปกรณ์ ลิ้มโยธิน, นิวัตน์ สวัสดิ์แก้ว
และคณะ. (2559). ความพึงพอใจของนักศึกษาในการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ ประจำปี 2557.
การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติ และนานาชาติ ครั้งที่ 7 วันที่ 23 มิถุนายน 2559 มหาวิทยาลัยหาดใหญ่. สงขลา.
ณัฐปคัลภ์ ญาณมโนวิศิษฏ์. (2558). การนำหลักธรรมาภิบาลไปปฏิบัติขององค์การบริหารส่วนตำบลจังหวัดฉะเชิงเทรา. สืบค้นเมื่อ
พฤศจิกายน 2559, จาก https://www.tci-thaijo.org/index.php/apheitjournals/article/download/35286/
ตาบทิพย์ ไกรพรศักดิ์. (2555). ธรรมาภิบาลในฐานะปัจจัยสภาพแวดล้อมสู่ความสำเร็จในการบริหารจัดการ: บทตรวจสอบ
ระหว่างประเทศ. สืบค้นเมื่อ 26 พฤศจิกายน 2559, จาก https://www.lib.Ku.ac.th/KUCONF/2555/KC4915009.pdf.
ถวิลวดี บุรีกุล และคณะ. (2545). โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาดัชนีวัดผลการพัฒนาระบบบริหารจัดการที่ดี. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า.
ถวิลวดี บุรีกุล และคณะ. (2549). ทศธรรม: ตัวชี้วัดการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า.
ทิพวัลย์ พันธ์จันทึก. (2558). อิทธิพลของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงและวัฒนธรรมองค์การที่มีต่อผลการดำเนินงานขององค์การ:
กรณีศึกษามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร์และ
วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ธณัฐพล ชะอุ่ม. (2558). การบริหารจัดการที่มีผลต่อประสิทธิผลของเทศบาลตำบลในเขตภาคกลางของประเทศไทย. สืบค้น
เมื่อ 25 มิถุนายน 2560, จาก https://www.research-system.siam.edu/2013-12-20-03-59/2407-2015-12-04-02-54-7
ธีรวุฒิ เอกะกุล. (2543). ระเบียบวิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. อุบลราชธานี: สถาบันราชภัฎอุบลราชธานี.
พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 13) พ.ศ. 2552. ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 70 ตอนที่ 14.
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. 2542. ราชกิจจานุเบกษา.
เล่มที่ 116 ตอนที่ 633.ศรีสกุล เจริญศรี, ไชยา ยิ้มวิไล, และปิยากร หวังมหาพร. (2559). ธรรมาภิบาล วัฒนธรรมองค์การ กับประสิทธิผลองค์การของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ. วารสารช่อพะยอม, 27(1), 57-72.
ศิรินันท์ ทิพย์เจริญ. (2555). ธรรมาภิบาลกับการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย. วารสารสห
วิทยาการวิจัย, 1(2), 97-103.
สมชาย น้อยฉ่ำ, นิคม เจียรจินดา และชัชวลิต เลาหวิเชียร. (2559). ธรรมาภิบาลกับประสิทธิผลในการบริหารงานตามหลักการ
ประเมินแห่งดุลยภาพของเทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์ อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี. วารสารเกษมบัณฑิต. 17(2),
-48.
สุเมธ แสงนิ่มนวล. (2556). ต้นแบบการบริหารจัดการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 3 ธันวาคม
, จาก www.kpi.ac.th/media/pdf/M7_264.pdf
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2552). คู่มือการจัดระบบการกำกับดูแลองค์การภาครัฐตามหลักธรรมาภิบาล
ของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance Rating). กรุงเทพฯ: พรีเมียร์โปร.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2555). สรุปผลการประชุมคณะรัฐมนตรีวันที่ 24 เมษายน 2555 เรื่องข้อเสนอ
แผนการส่งเสริมและพัฒนาธรรมาภิบาลในภาคราชการ เพื่อการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดีอย่างยั่งยืน. กรุงเทพฯ:
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ.
Ahmad, M.S. (2012). Impact of Organizational Culture on Performmance Management Practices in Pakistan.
Business Intelligence Journal, 5(1), 50-55.
Denison, D.R. (1990). Corporate Culture Organizational Effectiveness. New York: John Wiley & Sons.
Denison, D. R., Haaland, S. & Goelzer, P. (2003). Corporate Culture and Organizational Effectiveness: Is
There a Similar Pattern around the World? Advances in Global Leadership, 3, 205-227.
Scholz, C. (1987). Corporate Culture and Strategy The Problem of Strategic Fit. Academy of Management
Journal, 20(4), 78-87.