Adaptation of the Second Generation of Shan Migrants from Myanmar through Cultural Hybridity in Thailand

Main Article Content

Pisith Nasee

Abstract

The number of the second generation of Shan migrants in Thailand has steadily increased. Previous studies have shown that they have formed a new identity through education and living in Thailand, and become cultural hybrids. This paper aims to investigate the adaptation of the second generation of Shan migrants from Myanmar through education and living in Thailand. The study employs a concept of cultural hybridity which is interpreted as a dynamic process to shed light upon the complexity of adaptation of the second generation of Shan migrants under the context of marginal people in Thai society. This paper is a preliminary analysis using a qualitative approach. Data were collected through document research, fieldwork, and in-depth interviews with the second generation of Shan migrants in Chiang Mai between 2018 and 2019.

Article Details

How to Cite
Nasee, P. . (2021). Adaptation of the Second Generation of Shan Migrants from Myanmar through Cultural Hybridity in Thailand. Political Science and Public Administration Journal, 12(1), 283–306. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/polscicmujournal/article/view/217540
Section
Academic Article

References

โกสุมภ์ สายจันทร์ และคณะ. (2554). บทสังเคราะห์ชุดโครงการวิจัยเรื่อง สถานะและปัญหาของทายาทรุ่นที่ 2 ของผู้ย้ายถิ่นจากประเทศพม่า (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

ขวัญชีวัน บัวแดง และคณะ. (2549). การศึกษาและพัฒนาการสื่อสารสุขภาพในกลุ่มแรงงานข้ามชาติ กรณีศึกษากลุ่มแรงงานไทใหญ่ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ (รายงานการวิจัย). เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ขวัญชีวัน บัวแดง. (2554ก). การปรับตัวทางสังคมและวัฒนธรรมของทายาทรุ่นที่ 2 ของผู้ย้ายถิ่นจากประเทศพม่า (รายงานการวิจัย). เชียงใหม่: คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

______. (2554ข). ทายาทของแรงงานย้ายถิ่นจากพม่า การศึกษาและอัตลักษณ์ข้ามชาติ. ใน มูลนิธิเพื่อนไร้พรมแดน (บก.). พลเมืองในโลกไร้พรมแดน (น. 124-55). กรุงเทพฯ: โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงานข้ามชาติและผู้มีปัญหาสถานะบุคคล สำนักงานกองทุนสนับสนุนการเสริมสร้างสุขภาพ.

ชรินทร์ มั่งคั่ง และคณะ. (2558). การสร้างความเข้มแข็งทางอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ของนักเรียนไทใหญ่ผ่านแหล่งเรียนรู้ชุมชนในพื้นที่ภาคเหนือของไทย (รายงานการวิจัย). เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ฐิติมดี อาพัทธนานนท์. (2561). โรงเรียนหลากวัฒนธรรม นโยบายการจัดการศึกษาของรัฐไทยในสังคมพหุวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นงเยาว์ เนาวรัตน์, จารุณี มณีกุล, ชรินทร์ มั่งคั่ง, และเชษฐภูมิ วรรณไพศาล. (2555). ประชาสังคมและสิทธิทางการศึกษาสำหรับเด็กไร้รัฐ. เชียงใหม่: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

บุบผา อนันต์สุชาติกุล. (2554). รูปแบบและการจัดการศึกษาสำหรับทายาทรุ่นที่ 2 ของผู้ย้ายถิ่นจากประเทศพม่า. ชุดโครงการสถานะและปัญหาของทายาทรุ่นที่ 2 ของผู้ย้ายถิ่นจากประเทศพม่า (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

บุศรินทร์ เลิศชวลิตสกุล. (2561). เส้นทางอพยพของคนไทยกับการจัดการการย้ายถิ่นภายใต้แนวคิดสัญชาติทางวัฒนธรรมในเนเธอร์แลนด์. วารสารพัฒนศาสตร์, 1(2), 9-56.

ประชาไท. (2548). รายงานพิเศษ: “บัตรสี” สปีชี่ย์พลเมืองตามกฎหมาย. สืบค้นเมื่อ 5 เมษายน 2562, จาก https://prachatai.com/journal/2005/09/5679.

พวงเพชร์ ธนสิน. (2554). ทายาทรุ่นที่ 2 ของผู้ย้ายถิ่นจากประเทศพม่า: สถานการณ์และการอพยพโยกย้าย (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

พิสิษฏ์ นาสี, และชัยพงษ์ สำเนียง. (2557). ประเทศไทย จากยุคแรงงานล้นเหลือถึงการเข้ามาของแรงงานข้ามชาติ: ความเปลี่ยนแปลงของแรงงานในประเทศไทยสู่การแสวงหาแรงงานทดแทน. วารสารมหาวิทยาลัยเจ้าพระยา, 2(2), 104-134.

ศิริพงษ์ ลดาวัลย์ ณ อยุธยา. (2559). การจัดการแรงงานข้ามชาติเข้าเมืองผิดกฎหมาย 3 สัญชาติของไทย: การสำรวจทางกฎหมาย นโยบาย และทางเลือก. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์, 7(1), 49-74.

สมคิด แสงจันทร์. (2560). แรงปรารถนาและวัฒนธรรมวัยรุ่นของกลุ่มคนหนุ่มไตในจังหวัดเชียงใหม่. (ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต), มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สมชาย ปรีชาศิลปกุล. (2554). ความพลเมืองแบบลื่นไหลในยุคโลกาภิวัตน์ แปลจาก Flexible Citizenship for a Global Society โดย Bruno S. Frey, University of Zurich, Switzerland. ใน มูลนิธิเพื่อนไร้พรมแดน (บก.). พลเมืองในโลกไร้พรมแดน (น. 40-69). กรุงเทพฯ: โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงานข้ามชาติและผู้มีปัญหาสถานะบุคคล (คพรส.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.).

สำนักงานบริหารแรงงานต่างด้าว. (2561). สถิติจำนวนคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตทำงานคงเหลือทั่วราชอาณาจักร ประจำเดือนตุลาคม 2561. สืบค้นเมื่อ 1 มีนาคม 2562, จาก https://www.doe.go.th/prd/assets/upload/files/alien_th/98802fed607243cb1c1afe248b3d29eb.pdf.

สุชาดา ทวีสิทธิ์. (2554). ทัศนะใหม่ของความเป็นพลเมืองบนพื้นที่ของความเป็นอื่น. ใน มูลนิธิเพื่อนไร้พรมแดน (บก.). พลเมืองในโลกไร้พรมแดน (น. 8-39). กรุงเทพฯ: โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงานข้ามชาติและผู้มีปัญหาสถานะบุคคล (คพรส.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.).

อัมพร จิรัฐติกร. (2558). พื้นที่สาธารณะข้ามชาติ การเมืองเรื่องพื้นที่ของแรงงานอพยพไทใหญ่ในจังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่: ศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

อานันท์ กาญจนพันธุ์, และชัยพงษ์ สำเนียง. (2557). แรงงานข้ามชาติ อัตลักษณ์และสิทธิความเป็นพลเมือง. เชียงใหม่: แผนงานเสริมสร้างนโยบายสาธารณะที่ดี และสถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

Bhabha, H. K. (1994). The Location of Culture. London: Routledge.

Jirattikorn, A. (2007). Living on Both Sides of the Borders: Transnational Migrants, Pop Music and Nation of the Shan in Thailand. Chiang Mai: Regional Center for Social Science and Sustainable Development, Faculty of Social Sciences, Chiang Mai University.

Portes, A., & Rumbaut, R. (2005). Introduction: The Second Generation and the Children of Immigrants Longitudinal Study. Ethnic and Racial Studies, 28(6), 983-999.