สตรีมุสลิม: ชีวิต และบทบาทในการเป็นนักเคลื่อนไหวทางสังคมในจังหวัดชายแดนภาคใต้

ผู้แต่ง

  • นุรุลฮุดา อับรู คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • วันพิชิต ศรีสุข คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

คำสำคัญ:

จังหวัดชายแดนภาคใต้, นักเคลื่อนไหวทางสังคม, สตรีมุสลิม

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษารูปแบบการดำเนินชีวิตและสถานภาพทางสังคมของสตรีมุสลิมที่เป็น นักเคลื่อนไหวทางสังคมในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 2) ศึกษาบทบาทของสตรีมุสสิมในการเป็นนักเคลื่อนไหว ทางสังคมในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และ 3) เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาสตรีมุสลิมให้มีบทบาทใน การเป็นนักเคลื่อนไหวทางสังคมเพื่อการพัฒนาสังคมในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัย เชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ให้ข้อมูลหลักคือสตรีมุสสิมที่เป็นนักเคลื่อนไหวทางสังคมใน ปัตตานี ยะลา นราธิวาส พื้นที่ละ 5 คน รวมเป็น 15 คน โดยการเลือกแบบเจาะจงเฉพาะสตรีที่ได้รับผลกระทบจาก เหตุการณ์ความไม่สงบที่ทำงานเพื่อช่วยเหลือเยียวยา วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษา พบว่า สตรีมุสลิมส่วนใหญ่จะมีบทบาทในด้านการให้คำแนะนำให้คำปรึกษาและช่วยเหลือสตรีที่ถูกกระทำรุนแรง ในครอบครัว โดยบทบาทและกระบวนการทำงานจะเริ่มตั้งแต่การรับข้อร้องเรียน การลงพื้นที่เข้าไปให้คำปรึกษา แบบตัวต่อตัว และการช่วยเหลือโดยการประสานงานไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวซ้อง และอีกหนึ่งบทบาทที่ สำคัญคือการเรียกร้องถึงความเท่าเทียมทางเพศ ส่วนปัญหาและอุปสรรคในการทำงานที่มักพบคือการจัดสรร เวลาในการทำงานกับเวลาในการดูแลครอบครัวตามหน้าที่ของสตรีมุสลิมที่ไม่สมดุลและการไม่ได้รับการยอมรับ จากกลุ่มคนที่มีความเชื่อและทัศนคติที่ฝังแน่นว่าการที่สตรีมุสลิมออกมาทำหน้าที่นักเคลื่อนไหวทางสังคมของ สตรีผิดหลักศาสนา รวมถึงการขาดความเชื่อมั่นของกลุ่มคนที่เป็นเครือข่ายเคลื่อนไหวทางสังคมต้องการเข้าถึง และช่วยเหลือทำให้การทำงานไม่สัมฤทธิ์ผลเท่าที่ควร จากข้อค้นพบจึงสามารถเสนอแนวทางการพัฒนาสตรีมุสลิม ให้มีบทบาทในการเป็นนักเคลื่อนไหวทางสังคม 3 ประเด็น คือ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องสร้างความรู้ความเข้าใจ ในต้านงานการขับเคลื่อนสังคมพยายามสร้างความรู้และทัศนคติให้สตรีมุสลิมเส็งเห็นถึงคุณค่าในตัวเองมากขึ้น รวมทั้งต้องมีการจัดสรรกระบวนการทำงานของเครือข่ายเพื่อให้สอดคล้องกับรูปแบบการดำเนินชีวิตตามวิถีของ สตรีมุสลิมมากขึ้น และควรมีการส่งต่อแนวทาง แนวคิดของการเห็นคุณค่าของตนเองมากขึ้น

References

Arenee (pseudonym). (2021, 10 September). Education Social Activist. Interview.

Ayah (pseudonym). (2021, 10 September). Education Social Activist. Interview.

Beasley, C. (1999). What is Feminism? London: Sage Publications.

Buranarak, W. (2005). People’s political movement: Case study of environmental conservation group, Udon Thani Province (Master of Political Science Degree). Chiang Mai University.

Chaicharoenwattana, B. (2008). A study of policies, measures and approaches to solving the unrest and develop the area of the three southern border provinces (Master of Management). Prince of Songkla University.

Chanrak, P. (2018). Social driving process towards amendment of the Penal Code, section 276 and the creation of discourse on women’s body rights (Master of Arts). Thammasat University.

Department of Women’s Affairs and Family Institute. (2017). Women’s rights. Retrieved January 10, 2022, from http://www.dwf.go.th/

Fineman, A. (2001). The autonomy myth: A theory of dependency. London: The New Press.

Hal-Fauzan, S.F. (2017). Introduced the provisions of especially related to women translated by Arifin Yacharad (Research report). Songkhla: Office for the Propagation and Teaching of Islam, Ar-Rabwah, Riyadh.

Husna (pseudonym). (2021, 10 September). Education Social Activist. Interview.

Khanphon, P. (2007). Appropriate legal measures for the prevention of discrimination against women: A case study of the protection of women’s rights under Thai law in conformity to the convention on the elimination of all forms of discrimination against women (1979) (Thesis for Master of Laws). Ramkhamhaeng University.

Madden, A. (2014). Peace-building process by women in the midst of violence in Asia region, source of support budget. Bangkok: Office of the Research Fund (TRF).

Makasakul, T.N. (2013). A new social movement movement in Thailand. Bangkok: Aksa Samphan.

Makudi, I. (2561). Principles of right and opposite confidence. Bangkok: Sasana Wittaya School.

Moh (pseudonym). (2021, 10 September). Education Social Activist. Interview.

Nana (pseudonym). (2021, 10 September). Domestic violence Social Activist. Interview.

Pindeang, P. (2019). Fundamentals of religion. Bangkok: Mahamakut Wittayalai Printing House.

Public Relations Office, Yala Province. (2020). Three southern border provinces. Retrieved January 10, 2022, from https://pr.prd.go.th/yala/main.php?filename=index

Saida (pseudonym). (2021, 10 September). Social Equality Activist. Interview.

Sainui, S. (2014). Islamic leaders and social movements. Bangkok: Office of the Research Fund.

Samuhsenito, A., Tongsamsi, K., Benrit, P., & Useng, N. (2017). Sexuality in life, marriage of Thai Muslims, Pattani Province. Journal of History, Thammasat, 4(1), 90-115.

Saripah (pseudonym). (2021, 10 September). Domestic Violence Social Activist. Interview.

Somsawad, W.A. (2018). Theist feminist. Chiang Mai: Vanida Press.

Thitiraweewong, P. (2018). Changes in women’s roles in the perspective of Muslim women southern border provinces. Journal of Education, Prince of Songkla University, Pattani Campus, 21(2), 148-161.

Touraine, A. (1998). Critique of modernity. Oxford: Blackwell.

Wantana, S.K. (2014). Contemporary political ideology. Nakhon Pathom: National Agricultural Extension and Training Center.

Wichitwatchararak, S. (2019). Social movements among LGBT people, Thailand. Chulanakorn Journal, 6(4), 10-28.

Wisalaporn, S.M. (2009). Leadership, collection of theory and practice, educational Administration (Research report). Nonthaburi: Sukhothai Thammathirat Open University.

Wainer, H., & Braun, H.I. (1988) Test valiclity. New York: Bedge.

Yoh (pseudonym). (2021, 10 September). Social Equality Activist. Interview.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-11-25