ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนที่อาศัยอยู่ในอำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ผู้แต่ง

  • ณัฐภัสสร ธนาบวรพาณิชย์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ
  • พิศมัย จารุจิตติพันธ์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ

คำสำคัญ:

เกาะสมุย, ขยะมูลฝอย, ความรู้ความเข้าใจ

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชน 2) ศึกษาระดับความรู้ความเข้าใจของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอย จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และปัจจัย ทางเศรษฐกิจและสังคมของประชาชน บทความนี้เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) เครื่องมือ ที่ใช้ในการศึกษาวิจัยคือแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยประชาชน ที่อาศัยอยู่ในอำเภอเกาะสมุย จังหวัด สุราษฎร์ธานี กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามสัดส่วนของกลุ่มประชากรชั้นต่ำของแต่ละตำบลไม่น้อยกว่า 30 คน รวมทั้งหมด จำนวน 516 คน จาก 3 ชุมชนได้แก่ ชุมชนที่เน้นการค้า บริการ การเกษตรกรรม (ตำบลอ่างทอง ตำบลลิปะน้อย) จำนวน 150 คน ชุมชนที่เน้นวัฒนธรรม-การท่องเที่ยวชุมชน (ตำบลตลิ่งงาม ตำบลหน้าเมือง และตำบลมะเร็ต) จำนวน 165 คน ชุมชนที่เน้นการท่องเที่ยวสมัยใหม่ (ตำบลบ่อผุด ตำบลแม่น้ำ) จำนวน 201 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มอย่างง่ย สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่เฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ ความแตกต่างระหว่างกลุ่มด้วย Independent Samples t-test และ One-way ANOVA ผลการวิจัยพบว่า 1)ระดับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนอยู่ในระดับมาก ทั้งในภาพรวม ด้านขยะ และการทิ้งขยะ และด้านการลดขยะ 2) ระดับความรู้ความเข้าใจของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยเกี่ยวกับด้าน ทิ้งขยะแตกต่างกันตามระดับการศึกษา และมีระดับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะแตก ต่างกันจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ด้านอายุ และด้านสถานภาพสมรส ส่วนปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมของ ประชาชน ด้านอาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน และชุมชนที่อยู่อาศัย มีความแตกต่างกันต้านขยะและการทิ้งขยะ และ ด้านการคัดแยกขยะ

Author Biography

ณัฐภัสสร ธนาบวรพาณิชย์, คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ

lecturer

References

Bloom, B.S. (1975). Handbook on formation and summative evaluation of student learning. New York: Mcgraw-Hill Book Company.

Chaichana, A., Sookcharoen, B., & Chanket, A. (2016). Knowledge and behavior of solid waste management according to the 3Rs principle of students of the Faculty of Public Health and Environment, Huachiew Chalerm prakiet University. National Conference Rajabhat University, 16(3), 684-695.

Choojun, J., & Yenyueuk, C. (2021). Solid waste management according to the 3Rs principle of Koh Samui Municipality, Koh Samui District, Surat Thani Province. Journal of Social Sciences and Humanities, 5(2), 1-13.

Choojun, J., & Yenyuak, C. (2021). Waste management on the 3rs principle of Koh Samui Municipality, Koh Samui District, Surat Thani Province. Journal of Social Sciences and Humanities, 5(2), 1-13. https://so05.tci-thaijo.org /index.php/saujournalssh/article/

view/251736 /171174

Inkaew, T. (2020). Factors related to solid waste disposal behavior of people in Bang Klam District, Songkhla Province. Health Science Journal of Thailand, 2(2), 23-34.

Kaewprayoon, S., Sawatkaew, N., & Thepvarin, S. (2015). Knowledge, attitude and behavior of household solid waste management. Retrieved October 21, 2022, from http://www.tnrr.in.th/?page=result_search&reco rd_id=1 0162346

Kiddee, P., Kaewwong, A., & Pukngam, S. (2007). Knowledge, attitude and behavior in solid waste management of people in Pa Phayom District, Phatthalung Province. Retrieved October 21, 2022, from http://kb.tsu.ac. th/jspui/bitstream.com

Koh Samui Municipality. (2022). General information of the Municipality of Koh Samui. Retrieved October 22, 2022, from https://www.kohsamuicity.go. th/content/general.

Longe, E.O., Longe, O.O., & Ukpebor, E.F. (2009). People’s perception on household solid waste management in Ojo local government area in Nigeria. Iranian Journal of Environmental Health Science & Engineering, 6(3), 201-208.

Makphan, W. (2018). Cognition and waste management behavior of the people in Trang Municipality, Trang Province. Journal of Thaksin University, 21(1), 80-87.

Pharasuwan, P. (2016). People’s knowledge and attitudes on household solid waste management the area of Nong Taphan Subdistrict Administrative Organization, Ban Khai District, Rayong Province (Master of Public Health program). Burapha University.

Pollution Control Department. (2008). Guide to guidelines and prerequisites for waste reduction and utilization. Bangkok: Pollution Control Department.

Pollution Control Department. (2021). Municipal solid waste management. Retrieved October 24, 2022, from https://www.pcd.go.th/publication/ 13642

Thanangkhano, W. (2018). Problems and approaches to waste management in Thailand. Retrieved October 22, 2022, from https://www.nstda-tiis.or.th/ resume/wanwisathanungkano/

Uchupat, W. (2018). Knowledge and behavior in waste management of people. and quality of service in waste management of Lao Yao Subdistrict Administrative Organization, Ban Hong District, Lamphun Province (Research report). Chiang Mai: Chiang Mai Rajabhat

University.

Yokapjorn, A., & Rahothan, J. (2021). Knowledge and behavior of waste management affecting service quality of Ban Bueng Subdistrict Municipality, Chonburi Province. Journal Pacific Institute of Management Sciences, 7(2), 160-175.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-06