การวิเคราะห์ข้อผิดพลาดคำลักษณนามจีนเข้าคู่กับคำนาม: กรณีศึกษานักศึกษาสาขาวิชาภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี

ผู้แต่ง

  • อมรา อภัยพงศ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี

คำสำคัญ:

ข้อผิดพลาด, คำลักษณนามจีน, ภาษาจีน, มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์ข้อผิดพลาดการใช้คำลักษณนามจีนเข้าคู่กับคำนาม 2) ค้นหาสาเหตุ และแนวทางการแก้ไขข้อผิดพลาดการใช้คำลักษณนามจีนเข้าคู่กับคำนาม กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาภาษาจีน มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี โดยใช้ระเบียบการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงสำรวจ และ รวบรวมข้อมูลที่ได้จากตำราการสอบวัดระดับภาษาจีนกลางในเรื่องของคำเชื่อมประโยคและคำลักษณนามจีน ผลการวิจัยพบว่า 1) นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาภาษาจีน มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี จำนวน 22 คน เกิด ข้อผิดพลาดคำลักษณนามจีนมากที่สุดในประเด็นที่เกี่ยวกับมนุษย์ คิดเป็นร้อยละ 11.21 รองลงมาคือ ข้อผิดพลาด คำลักษณนามจีนที่เกี่ยวกับสัตว์ร้อยละ 9.70 และลำดับสุดท้ายคือ ข้อผิดพลาดคำลักษณนามจีนที่เกี่ยวกับพืช ร้อยละ 2.12 2) จากกรวิคราะห์ข้อมูลตามกรอบแนว่คิดทางด้านภาษาศาสตร์เกี่ยวกับการจัดแบ่งประเภท สิ่งมีชีวิตของคำลักษณนามจีนและแนวคิดการวิเคราะห์ข้อผิดพลาดพบว่า ข้อผิดพลาดการใช้คำลักษณนามจีน เข้าคู่กับคำนามไม่ได้เกิดจากการถ่ายโอนในเชิงบวกที่รับอิทธิพลจากภาษาแม่เพียงด้านเดียว แต่มีความสัมพันธ์ กับระบบความนึกคิด การมองโลก และความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยจีน นอกจากนั้น วิจัยฉบับนี้ยังได้ให้ ข้อเสนอแนะการสอนต้นกำเนิดตัวตัวอักษรจีนโบราณเพื่อช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจคำศัพท์ในบทเรียนมากยิ่งขึ้น

References

Aiemworamet, T. (2010). Chinese –Thai dictionary. Bangkok: Ruamsarn Press.

Apaipong, A. (2020). The error analysis noun classifiers in Mandarin related Chinese sentence structure of Thai students and teaching advice. Panyapiwat Journal, 12(1), 315-324.

Bian, W.H. (2011). New edition explanation Chinese characters. Beijing: The Chinese Overseas Publishing House Press.

Chanturat, K. (2018). Applied linguistics in language Learning. Bangkok: Ramkhamhaeng University Press.

Chen, M.X. (2016). A Contrastive study of appearance classifiers in Chinese and Thai from the perspective of cognitive – Chinese error analysis of Thai learner (Doctoral Dissertation). Shandong University.

Fan, X.Y. (2009). A comparative study on classifiers of Chinese and Thai (Doctoral Dissertation). Beijing Language and Culture University.

Kittiwong, W. (2018). Complete version 3rd update for preparing for the assistant teacher examination. Nonthaburi: Think Beyond Press.

Liu, X. (2009). An introduction to teaching Chinese as a second language. Beijing: Beijing Language and Culture University Press.

Lu, Q.H. (2009). The level of Chinese is improving step by step: Conjunction words, classifiers. Suzhou: Suzhou University Press.

Ma, A.M. (2015). The creation and development of classifiers of Chinese. Beijing: China Social Sciences Press.

Mekthawornwathana, T. (2010). The relationship of language, cognition, and culture. Journal of Liberal Arts, Prince of Songkla University, 2(2), 153-159.

Wattanaphanait. (1995). Dictionary of student. Bangkok: Wattanaphanit Printing Press.

Zhang, C. (2009). Comparison of the meaning system of Chinese and Thai measure words and teaching of Chinese measure words in the background of typology. Journal of Chinese teaching in the world, 23(4), 508-518.

Zang, Q. (2012). Picture dictionary of Chinese measure words. Beijing: International Chinese Teaching Research Center, the Commercial Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-07-07