การถือครองและการใช้ทรัพยากรที่ดินอย่างมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาอำเภอเบตง จังหวัดยะลา

ผู้แต่ง

  • พรพล เทศทอง School of Law, Mae Fah Luang University
  • อรัชมน พิเชฐวรกุล สำนักวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
  • วศิน สุวรรณรัตน์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • ผจญ คงเมือง คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • สินาด ตรีวรรณไชย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • ภาณุพงศ์ เฉลิมสิน คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

คำสำคัญ:

กฎหมายที่ดิน, กรรมสิทธิ์ในที่ดิน, การใช้ที่ดิน

บทคัดย่อ

งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหาเกี่ยวข้องกับที่ดินในพื้นที่นำร่องของอำเภอเบตง จังหวัด ยะลา และนำไปวิเคราะห์กับแนวนโยบายของรัฐในการจัดกรปัญหาที่ดิน อันนำไปสู่การจัดทำข้อเสนอแนะเกี่ยวกับ แนวทางในการแก้ปัญหาการถือครองและการใช้ทรัพยากรที่ดินอย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นหลัก ผลการศึกษาพบว่าปัญหาหลักคือพื้นที่ทำกินอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ โดยประชาชนอยู่อาศัยในพื้นที่ มาก่อนที่จะประกาศเป็นเขตปาสงวนแห่งชาติ ส่งผลให้ประชาชนขาดกรรมสิทธิ์และสิทธิครอบครอง จึงไม่สามารถ พัฒนาพื้นที่ดังกล่าวต่อไปได้ ซึ่งเป็นผลมาจากระบบการทำงานของหน่วยงานภาครัฐที่ขาดการบูรณาการข้อมูล และการดำเนินงานร่วมกัน ดังนั้น จึงควรนำแนวคิดเรื่องการจัดทำทะเบียนประวัติการใช้ที่ดินอย่างมีส่วนร่วมมา ใช้ประกอบกับการออกโฉนดชุมชน และรัฐควรนำนโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษมาบังคับใช้ในพื้นที่เพื่อการพัฒนา ด้านการท่องเที่ยว โดยนำระบบการให้บริการภาครัฐแบบเบ็ดเสร็จครบวงจรมาปรับใช้เพื่อให้เกิดความคล่องตัว และรวดเร็วในการดำเนินงาน

References

Banjongjit, N. (1998). Research on changes in land tenure status: A case of impacts from land reform for agriculture. Bangkok: Social Research Institute, Chulalongkorn University.

Ban Luang Municipality Office, Chom Thong District, Chiang Mai Province. (2015). The first innovative project to register the history of land use in the national park area. Chiang Mai: Ban Luang Municipality Office.

Ekchariyakon, P. (2012). Urban deed: A new alternative to solving the problem of cultivation land. The Journal of the Royal Institute of Thailand, 37(3), 75 - 80.

Institute of Administration Development. (2023). Best practice: Betong, a model city for stable, prosperous and sustainable development. Retrieved August 13, 2023, from http://iadopa.org/training/2560/Best%20Practice/1.pdf

National Strategy Secretariat Office. (2018). National strategy 2018 - 2037. Retrieved May 29, 2023, from https://www.moac.go.th/pyp-dwl-files-402791791892

Office of Public Sector Anti - Corruption Commission. (2016). Improvement of integrated state land boundary plans. Retrieved May 29, 2023, from https://www.pacc.go.th/pacc_2015/onemap/index.html

Office of the National Human Rights Commission. (2016). Research on people's participation in state land boundaries. Bangkok: Office of the National Human Rights Commission.

Open Development Thailand. (2018). Special economic zones. Retrieved May 30, 2023, from https://thailand.opendevelopmentmekong.net/th/topics/special-economic-zones/

Prince of Songkhla University. (2018). Betong District, Yala Province. Retrieved May 29, 2023, from https://clib.psu.ac.th/southerninfo/content/1/f17a1ad5

Provincial Community Development Office of Yala. (2021). History of Yala Province. Retrieved May 29, 2023, from https://shorturl.asia/BdW07

Srisaowaluk, I., Nakwibulwong, W., & Sudchukiat, S. (2004). Research report on the study of ways to improve land management organization. Bangkok: Faculty of Law, Chulalongkorn University.

The Eastern Economic Corridor Office of Thailand. (2018). One - stop government services plan in the EEC area. Retrieved May 30, 2023, from https://www.eeco.or.th/web-upload/filecenter/untitled%20folder/EEC006.pdf

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-08-24