<b>อิทธิพลของความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเองการควบคุมความโกรธพฤติกรรมการจัดการกับปัญหาและทัศนคติต่อการใช้ความรุนแรงต่อพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กวัยรุ่นชายไทย</b><br> The Effects of Self-Esteem, Anger Control, Coping Behavior and Attitudes Toward the Violence on
บทคัดย่อ
The objectives of this study were 1) to study self-esteem, anger control, coping behavior, attitude toward violence and aggressive behavior of Thai male adolescence, 2) to compare aggressive behavior of Thai male adolescence by their personal factors and 3) to study factors that influenced aggressive behavior of Thai male adolescence. The samples were 9,620 Thai male adolescence determined sample size by statistical formula and randomly selected by three stage cluster random sampling from vocational education commission, ministry of education. Collecting data by 5 questionnaires to assess self esteem, anger control, coping behavior, attitude toward violence and aggressive behavior of Thai male adolescence. The reliability of those questionnaires were .8436, .8743, .9415, .7786 and .8825 respectively. The major findings were as follows: 1) Self-esteem, anger control, coping behavior ,attitude toward violence and aggressive behavior of Thai male adolescence were at the moderate level, 2) Thai male adolescence with differences in age, grade point average, income per month, father’s educational level, father’s career, mother’s career and family income per month had different aggressive behavior with the statistically significance level at .05, 3) Self-esteem, anger control and coping behavior had negative correlation to aggressive behavior of Thai male adolescence with the statistically significance level at .01, while attitude toward violence had positive correlation to aggressive behavior with the statistically significance level at .05 and 4) Coping behavior, anger control and self esteem could jointly predict and account for 38.90 percent of the variance of aggressive behavior of Thai male adolescence. Research findings were the beneficial knowledge to family and related organization for prevention aggressive behavior of Thai male adolescence.
<br><br> Keywords: aggressive behavior, anger control,
attitudes toward the violence, coping
behavior, Self-esteem, thai male
adolescence
<br><br>
<b> บทคัดย่อ</b><br>
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาระดับ ความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเอง การควบคุมความโกรธ พฤติกรรมการจัดการกับปัญหา ทัศนคติต่อการใช้ ความรุนแรง และพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กวัยรุ่นชายไทย 2) เปรียบเทียบพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กวัยรุ่นชายไทย ที่มีปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกัน และ 3) ศึกษาตัวแปรร่วม ที่มีอิทธิพลในการท􀄢 ำนายพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กวัยรุ่นชายไทย กลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กวัยรุ่นชายไทย สังกัด ส􀄢ำนักงานการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จ􀄢ำนวน 9,620 คน ก􀄢ำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ สูตรสถิติค􀄢ำนวณและ สุ่มตัวอย่างโดยวิธีสุ่มแบบสาม ขั้นตอน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม 5 ชุด ในการประเมินความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเอง การควบคุม ความโกรธ พฤติกรรมการจัดการกับปัญหา ทัศนคติต่อ การใช้ความรุนแรง และพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็ก วั ยรุ่นชายไทย ค่าความเชื่อถือได้ของแบบสอบถาม เท่ากับ .8436 , 8743 , .9415, .7786, และ .8825
ตามล􀄢ำดับ ผลการวิจัยพบว่า 1) ความรู้สึกเห็นคุณค่า ในตนเอง การควบคุมความโกรธ พฤติกรรมการจัดการกับ ปัญหา ทัศนคติต่อการใช้ความรุนแรง และพฤติกรรม ก้าวร้าวของเด็กวัยรุ่นชายไทยอยู่ในระดับปานกลาง 2) เด็กวัยรุ่นชายไทยที่มีระดับอายุ คะแนนเฉลี่ยสะสม รายได้ต่อเดือน ระดับการศึกษาของบิดา อาชีพของบิดา อาชีพของมารดาและ รายได้ต่อเดือนของครอบครัว แตกต่างกันมีพฤติกรรมก้าวร้าวแตกต่างกันอย่างมีนัย ส􀄢ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ความรู้สึกเห็นคุณค่า ในตนเอง การควบคุมความโกรธ และพฤติกรรม การจัดการกับปัญหามีความสัมพันธ์ทางลบกับ พฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กวัยรุ่นชายไทยอย่างมีนัยส􀄢ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 แต่ทัศนคติต่อการใช้ความรุนแรง มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมก้าวร้าวอย่างมี นัยส􀄢ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 4) พฤติกรรม การจัดการกับปัญหา การควบคุมความโกรธ และ ความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเองสามารถร่วมกันท􀄢ำนาย พฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กวัยรุ่นชายไทย ได้ร้อยละ 38.90 ผลการวิจัยเป็นองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อ ครอบครัวและองค์กรที่เกี่ยวข้องส􀄢ำหรับน􀄢ำใช้เป็น แนวทางในการป้องกันปัญหาพฤติกรรมก้าวร้าวของ เด็กวัยรุ่นชายไทย
<br><br> คำสำคัญ: การควบคุมความโกรธ, ความรู้สึกเห็น คุณค่าในตนเอง, พฤติกรรมการจัดการกับ ปัญหา, พฤติกรรมก้าวร้าว, ทัศนคติต่อ การใช้ความรุนแรง, เด็กวัยรุ่นชายไทย