<b>ก้าวให้พ้นกับดักของคริสตัลเลอร์จากแนวคิดแหล่งกลางถึงฐานคติแบบเครือข่าย: การประยุกต์วิธีวิเคราะห์เครือข่ายทางสังคม อธิบายระบบชุมชนกรณีศึกษาในเมืองภูมิภาคโคราช </b><br> Moving Beyond Christaller's Trap, from Central Places to Network Bases: An Applying S
บทคัดย่อ
The attempt to change the concept from the central place system, the urban networks and relations of interdependence structure urban systems is certainly not new and it can be considered as part of changing period. However, while many scholars have theorized the importance of urban networks, few have directly examined their influence. Thus, this analysis aims to fulfill such significant gap by examining the influence of network-based urban hierarchies in relation to the structure of urban system through the case study in the Korat regional city. The study also uses methodological tools of social network analysis. It analyzes the commuting flow data via software tools of network analysis toolkit, Netdraw and Ucinet VI. The result shows the potentiality of social network analysis as tools to describe the urban system regarding concept of urban network, which help understand today’s city and regional growth. The paper also includes a discussion of the study’s limitations and suggestions for further applying social network analysis within the domain of urban planning and studies.
<br><br>Keywords: central place, social network analysis, urban hierarchy, urban network
<br><br>
<b> บทคัดย่อ</b><br>
แนวความคิดเรื่องการเปลี่ยนแปลงกรอบการมอง จากตัวแบบแหล่งกลางมาเป็นมุมมองแบบเครือข่าย เมือง หรือระบบโครงสร้างการพึ่งพากันและกันระหว่าง เมืองนั้นไม่ได้เป็นเรื่องใหม่ และอาจถือได้ว่าเป็นเพียง สภาวะของการเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัยเวลาที่เกิดขึ้น อย่างไรก็ตามแม้จะมีการให้ความส􀄢ำคัญกับเครือข่าย เมืองเพิ่มมากขึ้น แต่ก็ยังไม่ได้มีการศึกษาวิเคราะห์ถึง อิทธิพลของเครือข่ายและล􀄢ำดับชั้นตามเครือข่ายกัน เท่าใดนัก ด้วยเหตุนี้บทความจึงพยายามที่จะเติมเต็ม ช่องว่างนี้ ด้วยการพิจารณาถึงอิทธิพลของเครือข่าย ต่อการเกิดล􀄢ำดับชั้นเมืองและต่อการก่อตัวของระบบ ชุมชนโดยใช้กรณีศึกษาเมืองภูมิภาคโคราช ซึ่งในที่นี้ ได้น􀄢ำแนววิธีวิเคราะห์เครือข่ายทางสังคมมาประยุกต์ กับกรณีศึกษา โดยใช้ข้อมูลกระแสการเดินทางไป ท􀄢ำงานแบบเช้าไปเย็นกลับด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การวิเคราะห์เครือข่ายอย่าง Netdraw และ Ucinet VI ผลลัพธ์จากการวิเคราะห์ ได้ยืนยันให้เห็นถึงศักยภาพ ของวิธีวิเคราะห์แบบเครือข่ายทางสังคมซึ่งได้ช่วย อธิบายถึงรูปแบบการเจริญเติบโตของเมืองอันน􀄢ำไปสู่ การพัฒนาวิธีการวางแผนภาคและเมืองแบบเครือข่าย รวมถึงให้ภาพรวมของเครือข่ายและระดับความหนา แน่น พร้อมทั้งโหนดที่มีความส􀄢ำคัญ ในส่วนสุดท้ายของ บทความยังได้ท􀄢ำการสรุปและอภิปรายถึงข้อจ􀄢ำกัดใน บ้านเรา รวมตลอดจนข้อเสนอแนะในการประยุกต์ใช้ การวิเคราะห์เครือข่ายทางสังคมเพื่อการวางแผนภาค และเมืองของประเทศไทยในอนาคต
<br><br> คำสำคัญ: การวิเคราะห์เครือข่ายทางสังคม, เครือข่ายเมือง, ล􀄢ำดับชั้นของเมือง, แหล่งกลาง