<b>โลกทัศน์ของปัญญาชนมุสลิมกับประชาธิปไตย</b><br> Muslim Intellectuals’ Worldview and Democracy

ผู้แต่ง

  • เอกรินทร์ ต่วนศิริ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

คำสำคัญ:

democracy, Muslim Intellectuals, worldview

บทคัดย่อ

In the modern political society, “Democracy”
is has been user and interpreted diversely. From the
simplest to the most complex interpretation. The
main objective of this study is to survey and discuss
the Muslim intellectuals’ worldview and democracy
by studying the Muslim publications. This article
is organized into 3 sections. The first section
introduces the democracy concept and Islam, and
the conceptual framework and influence factors of
the Muslim intellectuals’ worldview in Thailand.
The second section presents the political role of the
Muslim intellectuals after 14 October 1973. The
third displays the democracy concept to the Muslim
intellectuals.


<br><br>
<b> บทคัดย่อ</b><br>“ประชาธิปไตย” กลายเป็นค�าประกาศิตของสังคม
การเมืองในโลกสมัยใหม่และถูกน�ามา “ตีความ” ที่
หลากหลายตั้งแต่เรียบง่ายจนกระทั่งซับซ้อนมากที่สุด
นับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน บทความนี้มีวัตถุประสงค์
เพื่อส�ารวจปัญญาชนมุสลิมกับประชาธิปไตย โดย
พิจารณาผ่านงานเขียน บทความวิชาการของกลุ่ม
ปัญญาชนมุสลิม บทความนี้แบ่งเป็น 3 ส่วน ส่วนที่หนึ่ง
น�าเสนอกรอบโครงการ กรอบแนวคิดในการอธิบาย
แนวคิดเรื่องประชาธิปไตยและอิสลาม และกรอบ
แนวคิดอธิบายปัจจัยที่มีอิทธิพลในการก�าหนด และก่อ
ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงมโนทัศน์ของปัญญาชนมุสลิม
ในประเทศไทย ส่วนที่สอง อธิบายภาพปัญญาชนมุสลิม
และบทบาททางการเมืองของพวกเขาหลังยุค 14 ตุลา
2516 และ ส่วนที่สามแสดงความคิดรวบยอดของ
กรอบมโนทัศน์ว่าด้วยเรื่องประชาธิปไตยของกลุ่ม
ปัญญาชนมุสลิม
<br><br> คำสำคัญ:ประชาธิปไตย, ปัญญาชนมุสลิม, โลกทัศน์

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2015-07-01