<b>การเล่นทางภาษาของคนไทย</b><br>Thai’s Language Game

ผู้แต่ง

  • ตามใจ อวิรุทธิโยธิน ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

คำสำคัญ:

Autosegmental Phonology, language game, systematic modification, typology of language

บทคัดย่อ

Abstract
Language game (LG) is a systemic modification of ordinary language. The objectives of this research are 1) to demonstrate the modification of each LG, 2) to demonstrate the overall perspective of the mechanisms according to the typology of language games, 3) used LG as evidence for language systems and linguistics theories. The data is collected from 2 informants each LG case. The 8 LGs are found in this research. These are [] language, [] language, [] language, [] language, [] language, [] language, [  ] language and [] language. There are 3 mechanisms
of modification. Firstly, insertion occurred in all LGs. It is found that inserted sound may be meaningful or meaningless, and insertion mostly
occurred before the word. Secondly, rearrangement occurred in 6 LGs. It is found that rhymes with tones can be interchanged whereas onset remained intact. Thirdly, substitution occurred in 6 LGs. It is found that substitution was used to prevent the modified forms form being similar to the ordinary language/ inserted sounds. Researcher found variants of

phonemes /w/, /l/, /r/ which demonstrates the status of these phonemes caused by reinterpretion of the Thai speakers.


บทคัดย่อ

ทคัดย่อ
การเล่นทางภาษา (language game = LG) คือ การดัดแปลงภาษาที่ใช้ในชีวิตประจ�าวันอย่างเป็นระบบวัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ ได้แก่ 1) แสดงการดัดแปลง LG แต่ละประเภท 2) แสดงภาพรวมของกลไกตามแนวคิดแบบลักษณ์ของการเล่นทางภาษา 3) ใช้ LG
เป็นหลักฐานเกี่ยวกับระบบภาษาและแนวคิดทฤษฎีทางภาษาศาสตร์ ผู้วิจัยเก็บข้อมูลจากผู้บอกภาษาสองคนต่อ LG หนึ่งประเภท การวิจัยครั้งนี้พบ LG ของคน ไทยแปดประเภท ได้แก่ ภาษาเส ภาษาส่อ ภาษาหล่อภาษาแหล่ ภาษาไหล ภาษาลู ภาษาคอคา และภาษา
มะละกอ การดัดแปลงภาษาใน LG ของคนไทยใช้สาม กลไก ได้แก่ 1) การเติม ปรากฏใน LG ทุกประเภท เสียงที่เติมอาจมีหรือไม่มีความหมายก็ได้ ต�าแหน่งที่ เติมมักเป็นหน้าค�า 2) การจัดเรียงใหม่ ปรากฏใน LGหกประเภท ล้วนเป็นการสลับเสียงส่วนหลังพร้อมกับ
เสียงวรรณยุกต์ 3) การแทนที่ ปรากฏใน LG หกประเภทการแทนที่ส่งผลให้เสียงที่เกิดขึ้นไม่ซ�้ากับค�าที่น�ามาดัดแปลง/เสียงที่เติม ผู้วิจัยพบรูปแปรของหน่วยเสียง// // // ซึ่งแสดงให้เห็นสถานภาพของหน่วยเสียเหล่านี้อันเกิดจากการตีความใหม่ของผู้พูดภาษาไทย


Downloads

เผยแพร่แล้ว

2016-07-01