ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตในการทำงานและความผูกพันต่อองค์กร ของครูโรงเรียนรัฐบาล ในจังหวัดชลบุรี

Authors

  • ทศพร ทานะมัย นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
  • ศรากุล สุโคตรพรหมมี อาจารย์ประจำคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

Keywords:

คุณภาพชีวิตในการทำงาน, ความผูกพันต่อองค์กร

Abstract

The objective of this independent study was to investigate relationship between quality of work life and organizational engagement with the focus on the level of quality of work life and that of organizational engagement, as well as the demographic factors that affected quality of work life and organizational engagement. The samples, chosen by random sampling, were 300 government school teachers working at 7 public schools in Chonburi Province. The statistics used for data analysis comprised Percentage, Mean, Standard Deviation, Independent Samples t-test, One-way ANOVA, Least Significant Difference, and Pearson Correlation Coefficient. It was found that most respondents were female, aged between 20-29 years, holding bachelor’s degree with 1-5 work experience. The overall level of quality of work life was at a high level with 3.71 of mean score. Similarly, that of organizational engagement was at a high level with 3.95. For demographic factors, their different sex and educational background indicated no statistical difference on organizational engagement. However, their different age and work experience affected the level of organizational engagement at a .05 statistically significant difference. In other words, the older they are and the longer they have been working, the higher level of their organizational engagement they have. This correlated with the result drawn from the analysis by Pearson Correlation Coefficient. Finally, all aspects of quality of work life showed their relationship with organizational engagement at a significance level of 0.05. Particularly, their occupation as a teacher that directly affected social context demonstrated the highest correlation at a significance level of .567.

References

1. กาญจนา บุญเพลิง. (2554). คุณภาพชีวิตการทำงานกับความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานเทศบาลจังหวัดสมุทรสาคร. วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.
2. จันทนา เสียงเจริญ. (2554). ความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน บริษัท ท่าอากาศยานไทย จ ากัด (มหาชน). วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการทั่วไป. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี.
3. ฐิปริติยาธร พรหมธนะนนท์. (2551). คุณภาพชีวิตในการทำงานและความผูกพันต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่บริการลูกค้าธนาคารพาณิชย์เขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปรญิญาครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
4. ดนุวัศ บุญเดช. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตในการทำงานและความผูกพันต่อองค์กรของพนักงาน ธนาคารนครหลวงไทย จำกัด (มหาชน)‬ ในเขตพื้นที่กรุงเทพและปริมณฑล. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
5. นิรมล กุลพญา. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตในการทำงานกับความผูกพันต่อองค์กรของพนักงาน ในธุรกิจน้ำอัดลม. การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการทั่วไป. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
6. บุษยาณี จันทร์เจริญสุข. (2548). การรับรู้คุณภาพชีวิตกับความผูกพันองค์การ : ศึกษากรณีข้าราชการ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
7. ประภาพรรณ พิยะ. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตการทำงานกับความผูกพันต่อองค์กร ของบุคลากรสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยพะเยา. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยพะเยา.
8. ปวีณา กรุงพลี. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตการทำงานกับความผูกพันต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่สำนักษาปณ์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.
9. พิชญ์สนิี ผลผิล. (2545). คุณภาพชีวิตในการทำงานกับความผูกพันต่อองค์การ : ศึกษากรณีบริษัท ไทย แอร์ พอร์ตส์ กราวด์ เซอร์วิสเซส จำกัด. วิทยานพินธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
10. พิชิต เทพวรรณ์ (2555). เครื่องมือการจัดการทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่. กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
11. ภัทรา แสงอรุณ. (2543). การรับรู้คุณภาพชีวิตงานที่ส่งผลต่อความรู้สึกผูกพันต่อองค์การของข้าราชการที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ห่างไกลความเจริญ: กรณีศึกษาฐานทัพเรือพังงา. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร์.
12. มนสิชา อนุกูล. (2555). คุณภาพชีวิตในการทำงานกับความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.
13. รุจี อุศศิลป์ศักดิ์. (2546). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลและคุณภาพชีวิตในการทำงานกับความยึดมั่น ผูกพันต่อองค์การของพนักงานธนาคาร กรุงเทพ จ ากัด (มหาชน) ในอำเภอเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
14. วิทยา อินทร์สอน และ สุรพงศ์ บางพาน. (2560). แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานโรงงานอุตสาหกรรม. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.thailandindustry.com/onlinemag/view2 .php?id =773 &section =30&issues =74
15. วรรณี รัตนพันธ์. (2554). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตการทำงานและความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรสายสนับสนุนที่ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยรามคำแหง. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
16. ศุภชัย รุ่งเจริญสุขศรี. (2558). ความผูกพันในองค์กรการพัฒนาความก้าวหน้าในสายอาชีพ และความพึงพอใจในสวัสดิการพนักงานส่งผลต่อความจงรักภักดีของพนักงานระดับปฏิบัติการของบริษัทเอกชน ในเขตกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
17. อัญชนา ค าสอด. (2559). ความผูกพันของครูต่อโรงเรียนในกลุ่มศรีราชา 1 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยบูรพา.
18. Fukami, C. V. and Larson, E. W. (1984). “Commitment to Company and Union.” Journal of Applied Phycology. 60, 367-371.
19. Good, Carter V. (1973). Dictionary of Education. New York: McGraw-Hill Book.
20. Huselid, M. and Day, N. (1991). “Organizations Commitment, Job Involvement and Turnover: A Substantive and Methodological Analysis.” Journal of Applied Psychology. 73(1991), 380391.
21. Mathieu, J. E., & Zajac, D. M. (1990). “A Review and Meta-Analysis of the Antecedents, Correlates, and Consequences of Organizational Commitment.” Psychological Bulletin. 108(2), 171194.
22. Richard, M. Steers & Lyman, W., Porter. (1991). Motivation and work behavior. 5th ed. New York: McGraw-hill.
23. Bruce and Blackburn. Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. 3rd ed. NewYork: Harper and Row Publication.

Downloads

Published

2018-11-30

How to Cite

ทานะมัย ท., & สุโคตรพรหมมี ศ. (2018). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตในการทำงานและความผูกพันต่อองค์กร ของครูโรงเรียนรัฐบาล ในจังหวัดชลบุรี. Pathumthani University Academic Journal, 10(2), 152–161. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/ptujournal/article/view/177546