PRACTICUMM SUPERVISSION GUIDELINE FOR GRADUATE DIPLOMA IN TEACHER PROFESSION PROGRAM OF NAKORNRAJASIMA COLLEGE ON COVID – 19 SITUATIONS

Authors

  • krongrip nakvichet วิทยาลัยนครราชสีมา

Keywords:

Practicumm guideline for Supervision, Nakornrajasima College, Covid – 19 Situation

Abstract

The purposes of this study were to study 1) the teaching method, problems and solution in practicum of teacher students of Graduate Diploma in Teacher Profession Program, Nakornrajasima College on Covid – 19 situation 2) the problems and supervision for Graduate Diploma in Teacher Profession Program, Nakornrajasima College on Covid–19 situations. The purposive sample were 98 teacher students and 15 supervisor teachers. The data was collected using structured interview.

The results of the study were as follows: 1) The teaching method in practicum of teacher student of Graduate Diploma in Teacher Profession Program, Nakornrajasima College on Covid – 19 situation were on line teaching, on hand teaching and on demand teaching, that the students’ parents took part in those method. The important problems were unstable of internet signal, some of students could not attend class and some of their parents were busy. The problem-solving guidelines were many ways for individual. 2) The important problem of practicumm supervision for Graduate Diploma in Teacher Profession Program, Nakornrajasima College on Covid – 19 situation was the internet connection. The guidelines for practicum supervision were (1) planning for supervision; coordinating and making an appointment with teacher students and their mentors, (2) running the on-line supervision through real time teaching and video recording. (3) examining the completement of supervision based on practicum manual. (4) improving the method of supervision 

 

Author Biography

krongrip nakvichet, วิทยาลัยนครราชสีมา

ความผูกพันของนักศึกษาครูที่มีต่อนครครูกับคุณภาพการปฏิบัติงานของอาจารย์

กรองทิพย์ นาควิเชตร*  ภควรรณ รุณสำโรง**  ชุติมา พรหมผุย***

วิรัลพัชร วงศ์วัฒน์เกษม****  กฤษฎา วัฒนศักดิ์*****  พจน์ เจริญสันเที๊ยะ******

วิมาน วรรณคำ*******  สุวิจักรณ์ มั่นสารนียธรรม******** 

พรหมินทร์ ศรีหมื่นไวย********* สมัคร ไวยขุนทด **********

___________________________

คำสำคัญ  : ความผูกพัน/  นักศึกษาครู/ คณะศึกษาศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา      

บทคัดย่อ

          การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เพื่อ 1) ศึกษาระดับความผูกพันของนักศึกษาครูมีที่มีต่อนครครู  2) ศึกษาระดับคุณภาพการปฏิบัติงานของอาจารย์  3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความผูกพันของนักศึกษาครูที่มีต่อนครครูกับคุณภาพการปฏิบัติงานของอาจารย์  4) ศึกษาคุณภาพการปฏิบัติงานของอาจารย์ที่ส่งผลต่อความผูกพันของนักศึกษาครูที่มีต่อนครครูศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู จำนวน 100 คน ใช้แบบสอบถามที่มีคุณภาพดี ผลการวิจัยพบว่า

1) นักศึกษาครูมีความผูกพันต่อนครครู โดยรวมอยู่ในระดับมาก 2) คุณภาพการปฏิบัติงานของอาจารย์ โดยรวมอยู่ในระดับมาก  และรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมาก คือ  ด้านการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษา ด้านการจัดการเรียนรู้ และด้านการจัดกิจกรรมพัฒนาความเป็นครู ตามลำดับ3) ความผูกพันของนักศึกษาครูที่มีต่อนครครูกับคุณภาพการปฏิบัติงานของอาจารยมีความสัมพันธ์กันทางบวกในระดับสูง 4) คุณภาพการปฏิบัติงานของอาจารย์ที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันของนักศึกษาครูที่มีต่อนครครู คือ ด้านการจัดกิจกรรมพัฒนาความเป็นครู รองลงมา คือ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและการฝึกปฏิบัติ สามารถร่วมกันทำนายความผูกพันของนักศึกษาครูที่มีต่อนครครู ได้ร้อยละ 65.40 ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01  ดังสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ A  = 0.729 + 0.271B2_22  + 0.277B2_23  + 0.262B2_19  และสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน Z  = 0.297B2_22  + 0.317B2_23  + 0.264B2_19

 

 

 

 

 

 

 

 

Abstract

         The purposes of this study were to study 1)  the levels of the teacher students’ commitment to “the Nakhon Kru”. 2) the  levels of teachers’ working quality.  3) the relationship between  teacher students’ commitment and teachers’ working quality.  4) the affecting of teachers’ working quality to teacher students’ commitment. The results of the study were as follows :   1) The levels of the teacher students’ commitment to “the Nakhon Kru”. were in the high level. 2) The  levels of teachers’ working quality were in the high level. 3) the relationship between teacher students’ commitment and teachers’ working quality were in the high level. They were positive with the teacher development activity setting and learning and practicum management.  4) The teachers’ working quality  affected to teacher students’ commitment in the high level. They predicted the the teacher students’ commitment at 65.40 % ai 0.01 significant level. The predictive equation in Unstandardized and Standardized score were :  A  = 0.729 + 0.271B2_22  + 0.277B2_23  + 0.262B2_19  ; Z  =      0.297B2_22  + 0.317B2_23  + 0.264B2_19

 

References

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2564). โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/index.php. เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2564.

ขจรศักดิ์ บัวระพันธุ์. (2563). ไตรยางค์การศึกษา. สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก : https://www.ubu.ac.th/web/files_up/46f2014090509402425.pdf. เมื่อวันที่ 8 กรกฏาคม 2564.

คณะศึกษาศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา. (2561). หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู วิทยาลัยนครราชสีมา. คณะศึกษาศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา.

จุฑารัตน์ วิบูลย์ผล. (2564). Differentiated Instruction. เพราะนักเรียนทุกคนมีความพิเศษ เป็นของตัวเอง. EDUCA ZOOM. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.youtube.com/watch?v=ZREUFZautKo. เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2564.

ฐาปนา จ้อยเจริญ และ ชนินันท์ พฤกประมูล. (2563). “สภาพและปัญหาการนิเทศนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูวิทยาศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ”. วารสารชุมชนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. ปีที่ 14 ฉบับที่ 3. หน้า 193-207.

ไทยรัฐ ออนไลน์. ห่วง โรงเรียนไกลไม่เข้าถึงอินเตอร์เน็ต. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://www.thairath.co.th/news/society/1831131 เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2564.

_____. สั่งปิดโรงเรียนสังกัด ศธ. ใน 28 จังหวัดพื้นที่ควบคุมสูงสุด 4- 31 ม.ค. 64. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://www.thairath.co.th/news/politic เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2564.

ประวีนา เอี่ยมยี่สุ่น. (2560). “ปัญหาและแนวทางการพัฒนาการฝึกปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครูของนักศึกษาคณะศิลปศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์”. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุวรรณภูมิ ครั้งที่ 1 (The 1st RUSNC). หน้า 796 – 806.

ปารณีย์ ขาวเจริญ ดวงใจ สีเขียว และ ชมพูนุท สุขหวาน. (2561). “การพัฒนารูปแบบการนิเทศ โดยวิธีการสอนงานและการเป็นพี่เลี้ยงของครูพี่เลี้ยงนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา”. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์. ปีที่ 19 หน้า 1. หน้า 125-136.

พนม เกตุมาน. (2564). Survival Skill “วิชาเอาตัวรอด” สอนอย่างไรในช่วง COVID – 19. EDUCA Zoom. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://www.educathai.com/videos/563 เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2564.

มนธิชา ทองหัตถา. (2564). “สภาพการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศโรงเรียนปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช”. วารสารลวะศรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี. ปีที่ 5 ฉบับที่ 1. หน้า 43-51.

ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์. (2564). การเรียนรู้แบบออนไลน์ (Online Learning) ที่แท้จริงคืออะไร. EDUCA Zoom. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://www.youtube.com/watch?v=bixPpYXJdWA. เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2564.

ราชกิจจานุเบกษา. (2563). ประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เรื่องรายละเอียดมาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพครู ตามข้อบังคับว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562.

วิจารณ์ พานิช. (2564). พลังครูไทยวิถีใหม่ ฉลาดรู้เท่าทันดิจิทัล. [ออนไลน์]. ปาฐกถา หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ครั้งที่ 4. วันครู ครั้งที่ 65. พ.ศ. 2564. จัดโดยคุรุสภา วันที่ 16 มกราคม 2564. เข้าถึงได้จาก https://www.ksp.or.th. เมื่อวันที่ 24 มกราคม 2564.

วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล. (2562ก). การเรียนรู้เพื่อเสริมพลังสร้างสรรค์สังคม (Social Creativity). กรุงเทพมหานคร : ศูนย์ผู้นำนวัตกรรมการเรียนรู้.

______. (2562ข). Guide for Growth การชี้แนะเพื่อการเติบโตทางการเรียนรู้. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์ผู้นำนวัตกรรมการเรียนรู้.

วิทยา วาโย, อภิรดี เจริญนุกูล, ฉัตรสุดา กานกายันต์ และจรรยา คนใหญ่. (2563). “การเรียนการสอนแบบออนไลน์ ภายใต้สถานการณ์แพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 : แนวคิดและการประยุกต์ใช้จัดการเรียนการสอน”. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9. ปีที่ 14 ฉบับที่ 34. หน้า 285-298.

วิธิดา พรหมวงศ์ ทัศนา ประสานตรี และสุมาลี พุทธรินทร์. (2563). “สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวทางแก้ไขการจัดการเรียนรู้ในช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด– 19 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 1” . วารสารรัชตภาคย์. 15(40) : หน้า 200 – 213.

สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์. (2562). การจัดการศึกษาเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตในยุควิกฤตผู้เรียน. การประชุมทางวิชาการและเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรรค์สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ ครั้งที่ 3 : การจัดการศึกษาเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต. วันที่ 2 – 3 กุมภาพันธ์ 2562 ณ Kensington English Garden Resort Khaoyai อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา. นครราชสีมา : สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชน แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี (สสอท.) สาขาวิชาศึกษาศาสตร์.

สุวิมล มธุรส. (2564). การจัดการศึกษาในระบบออนไลน์ในยุค NEW NORMAL COVID-19. วารสารรัชต์ภาคย์. 15 (40) : หน้า 33-42.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2564). สพฐ. แจงเลือกวิธีเรียนได้หลายแบบหากไม่พร้อมเรียนออนไลน์.

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2560). คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2557. (พิมพ์ครั้งที่ 4) กรุงเทพมหานคร : ภาพพิมพ์.

Geary, C. (2020). “Lessons from Pandemic Teacher Candidate Supervision”. Teacher Education Lessons. California State Polytechnic University, (104-112)

Maher,S. C., & Zollman, A. (2021). "Into the Unknown: Supervising Teacher Candidates During the 2020 COVID-19 Pandemic”. Journal of Teaching and Learning with Technology. Vol. 10 No. 1.

News. Thaipbs. (2564). งานวิจัยชี้ ดวงตาเป็นจุดเปราะบางต่อการติดเชื้อโควิด-19. วันที่ 21 มิถุนายน 2564. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก https://news.thaipbs.or.th/ เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2564.

World Health Organization. (2020). There is a current outbreak of Coronavirus (COVID-19) disease. [Online]. Available from: https://www.who.int/health-topics/coronavirus. Cited on 30 March 2020.

Downloads

Published

2021-12-29

How to Cite

nakvichet, krongrip. (2021). PRACTICUMM SUPERVISSION GUIDELINE FOR GRADUATE DIPLOMA IN TEACHER PROFESSION PROGRAM OF NAKORNRAJASIMA COLLEGE ON COVID – 19 SITUATIONS. Pathumthani University Academic Journal, 13(2), 527–544. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/ptujournal/article/view/254822