ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจ่ายเงินปันผลของบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่มอุตสาหกรรมการบริการการแพทย์

ผู้แต่ง

  • Puttipong วัฒนาเลขาวงศ์ Kasetsart university
  • Phithakthai Chaichok
  • Laksika Wongwanichsilp
  • Asst.Prof.Sasipa Pojanavatee

คำสำคัญ:

อัตราส่วนทางการเงิน, เงินปันผล, กลุ่มอุตสาหกรรมการบริการการแพทย์

บทคัดย่อ

การศึกษานี้ วิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจ่ายเงินปันผลของ 12 หลักทรัพย์ กลุ่มอุตสาหกรรมการบริการการแพทย์ในช่วงระยะเวลา พ.ศ. 2553 ถึง พ.ศ. 2562 โดยใช้การวิเคราะห์การถดถอยแบบ Panel data เนื่องจากเป็นวิธีที่เหมาะสมในการจัดการค่าความคลาดเคลื่อนของหน่วยข้อมูล ของการวิเคราะห์ข้อมูลแบบ Fixed effect model  อัตราส่วนทางการเงินที่ใช้ในการศึกษาประกอบไปด้วย อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม  อัตรากำไรสุทธิ อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของเจ้าของ และ อัตราส่วนหนี้สินต่อสินทรัพย์รวม จากการศึกษาพบว่าอัตราส่วนหนี้สินต่อสินทรัพย์รวม เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลมากที่สุดต่อการจ่ายเงินปันผลโดยมีความสัมพันธ์กันในเชิงลบ และปัจจัยที่มีอิทธิพลรองลงมาคือ อัตรากำไรสุทธิซึ่งมีความสัมพันธ์กันในเชิงลบต่อการจ่ายเงินปันผล นอกจากนี้ผลการศึกษายังแสดงถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลเชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญได้แก่ อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม  และอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของเจ้าของ ต่อการจ่ายเงินปันผลของหลักทรัพย์ที่อยู่ในกลุ่มอุตสาหกรรมการบริการการแพทย์

References

ณัฐพล วชิรมนตรี และธัญวรัตน์ สุวรรณะ. (2562). “ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนทางการเงินกับอัตราผลตอบแทนจากการลงทุนในหลักทรัพย์บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกรณีกลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร”. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี. ปีที่ 11 ฉบับที่ 1. หน้า 69-80.

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2562). ลงทุนในธุรกิจการแพทย์: เพื่อผลตอบแทนที่โดดเด่น เพื่อส่งเสริมไทยสู่ศูนย์กลางบริการด้านสุขภาพของโลก. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://www.set.or.th/dat/vdoArticle/attachFile/AttachFile_1558065826708.pdf. เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2564

ทรงพล รดิศพงศ์. (2555). “การแปลงข้อมูลผลการวิจัยโดยวิธีทางสถิติ”. วารสารกรมวิทยาศาสตร์บริการ. ปีที่ 60 ฉบับที่ 189. หน้า 16-19.

นิกข์นิภา บุญช่วย และสุพรรณิกา สันป่าแก้ว. (2561). “ปัจจัยที่มีผลต่อการจ่ายเงินปันผลของกลุ่มหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กรณีศึกษากลุ่มหลักทรัพย์พลังงานและสาธารณูปโภค”. Veridian E-journal. ปีที่ 11 ฉบับที่ 2. หน้า 1870-1879.

สาริยา นวลถวิล และกุสุมา ดำพิทักษ์. (2563). “อัตราส่วนทางการเงินที่ส่งผลต่อการจ่ายเงินปันผลของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่มดัชนี sSET”. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี. ปีที่ 12 ฉบับที่ 1. หน้า 304-318.

สิริการย์ กฤษฏิ์นิพัทธ์. (2563). สุขภาพดีปีหน้า. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จากhttps://www.krungsrisecurities.com/researchcontent/3/11/?id=13666. เมื่อวันที่ 9 เมษายน 2564.

อภิชาติ พงศ์สุพัฒน์. (2555). การเงินธุรกิจ (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาการเงิน คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

Fitri, R. R., Hosen, M. N., & Muhari, S. (2016). Analysis of Factors that Impact Dividend Payout Ratio on Listed Companies at Jakarta Islamic Index. International Journal of Academic Research in Accounting, Finance and Management Sciences, Vol 6 No. 2 , pp 87-97.

Hinkle, Dennis E., Wiersma, William, & Jurs, Stephen G. (2003). Applied statistics for the behavioral sciences (5th ed.). Boston: Houghton Mifflin Harcourt.

Malik, M. S., & Maqsood, M. (2015). “Impact of Changes in Dividend Policy on Firm’s Value: A Case Study of Cement Sector of Pakistan”. Journal of Basic Sciences and Applied Research. Vol 1 No. 4. pp 41-52.

Martani, D., Mulyono, & Khairurizka, R. (2009). “The Effect of Financial Ratios, Firm Size, and Cash Flow from Operating Activities in The Interim Report to The Stock Return”. Chinese Business Review. Vol 8 No. 6. pp 44-55.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-29

How to Cite

วัฒนาเลขาวงศ์ P., Chaichok, P., Wongwanichsilp, L., & Pojanavatee, S. (2021). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจ่ายเงินปันผลของบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่มอุตสาหกรรมการบริการการแพทย์. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี, 13(2), 158–168. สืบค้น จาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/ptujournal/article/view/252049