การออกแบบและพัฒนาชุดการสอนวิธีการใช้เครื่องมือวัดพื้นฐาน ในอุตสาหกรรมยานยนต์ กรณีศึกษา จิ๊กฝึกตรวจสอบการวัดชิ้นส่วนพาร์ทรถยนต์ สำหรับนักศึกษาปริญญาตรี

ผู้แต่ง

  • ณัฏฐกิตติ์ ฤทธิ์ทอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

คำสำคัญ:

จิ๊กฝึกตรวจสอบ, เครื่องมือวัดพื้นฐาน, อุตสาหกรรมยานยนต์, การวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อหาประสิทธิภาพชุดการสอนวิธีการใช้เครื่องมือวัดพื้นฐานในอุตสาหกรรมยานยนต์ 2) เพื่อประเมินคุณภาพชุดการสอน 3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่เรียนด้วย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี              ราชมงคลพระนคร ที่ลงทะเบียนเรียนวิชา การควบคุมคุณภาพ ชั้นปีที่ 2/2566 จำนวนทั้งหมด 30 คน โดยมีวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ชุดการสอนวิธีการใช้เครื่องมือวัดพื้นฐานในอุตสาหกรรมยานยนต์ แบบทดสอบระหว่างเรียนและแบบทดสอบหลังเรียน ใบประเมินคุณภาพชุดการสอน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการวิจัยพบว่า 1) การประเมินคุณภาพชุดการสอนวิธีการใช้เครื่องมือวัดพื้นฐาน      ในอุตสาหกรรมยานยนต์โดยผู้เชี่ยวชาญ ด้านการใช้งานอยู่ในระดับดีมาก คุณภาพด้านสื่อชุดจำลองอยู่ในระดับดีมาก และด้านสื่อของจริงอยู่ในระดับดีมาก 2) ผลการหาประสิทธิภาพชุด             การสอน เมื่อนำไปใช้กับกลุ่มผู้เรียน มีค่าเท่ากับ ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด  และ 3) นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ เป็นไปตามสมมติฐานการวิจัย

References

เฉลิมพล บุญทศ. (2564). “การพัฒนารูปแบบการฝึกอบรมสมรรถนะวิชาชีพช่างจิ๊กฟิกซ์เจอร์ (Jig & Fixture)”. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม. ปีที่ 11 ฉบับที่ 2. หน้า 184-196.

ภควัต เกอะประสิทธิ์. (2563). “การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานรายวิชา ไฮดรอลิกส์และนิวแมติกส์ประยุกต์สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี”. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี. ปีที่ 12 ฉบับที่ 1. หน้า 164-174.

Addion, R. G. (2019). Automotive Measurement Technology: The Essentials for Quality Control. SAE International.

Ando, K., Murohashi, A., Fujikake, M., & Hori, T. (2018). “Development of electric power steering evaluation system”. KYB Technical Review. Vol. 56. pp 37-42.

Brown, H. P. (2023). Precision in Automotive Measurement: Tools and Techniques. Springer.

David, V., Perkins., Renee, N., Saris. (2001). “A "Jigsaw Classroom" Technique for Undergraduate Statistics Courses”. Teaching of Psychology, doi: 10.1207/S15328023TOP2802_09.

Kirkpatrick, D. L., & Kirkpatrick, J. D. (2006). Evaluating Training Programs: The Four Levels (3rd ed). Berrett-Koehler Publishers.

Kuder, G. F., & Richardson, M. W. (1937). “The theory of the estimation of test reliability”. Psychometrika. Vol 2 No. 3. pp 151–160.

Lee, Seung, Yeol., Chang, Sung, Woo. (2020). Inspection jig and parts inspection method using the same. (WIPO) website. Publication Number WO/2017/090385

Nojima, Hisayoshi. (2016). “Measuring instrument for vehicle”. KYB Technical Review. ISSN 1880-7410. No.55, pp 49-52.

Okpala, C. C., & Okechukwu, E. (2015). “The design and need for jigs and fixtures in manufacturing”. Science Research. Vol 3 No. 4. pp 213-219.

Quality Control Basic Tools in Automotive Industry (2022). 549-562. doi: 10.1007/978-3-031-22375-4_44.

Romulo, Goncalves, Lins. (2018). “Mechatronic system for measuring hot-forged automotive parts based on image analysis”. Transactions of the Institute of Measurement and Control. Vol 40 No. 13. pp 3774-3787. doi: 10.1177/0142331217731619.

Smith, J. T., & Johnson, M. (2022). Advanced Measurement Techniques for the Automotive Industry. Wiley.

Tsuri, T., Fujii, T., & Kodera, Y. (2017). “Development of Equipment for Evaluating Automotive Vane Pumps”. KYB Technical Review. Vol 55. pp 48-52.

Yunshu & Long. (2012). Automotive minimum ground clearance measuring instrument. Application CN2010201789074U events.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-21

How to Cite

ฤทธิ์ทอง ณ. (2024). การออกแบบและพัฒนาชุดการสอนวิธีการใช้เครื่องมือวัดพื้นฐาน ในอุตสาหกรรมยานยนต์ กรณีศึกษา จิ๊กฝึกตรวจสอบการวัดชิ้นส่วนพาร์ทรถยนต์ สำหรับนักศึกษาปริญญาตรี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี, 16(2), 23–37. สืบค้น จาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/ptujournal/article/view/274579