การบริหารจัดการสถานที่ท่องเที่ยวโบราณสถานของประเทศไทยในเชิงเศรษฐกิจ

ผู้แต่ง

  • สมศรี รัชฎาภรณ์กุล รองประธานฝ่ายการเงินบริษัทไมเนอร์อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (มหาชน)

คำสำคัญ:

โบราณสถาน, สถานที่ท่องเที่ยว

บทคัดย่อ

การศึกษาเรื่อง การบริหารจัดการสถานที่ท่องเที่ยวโบราณสถานของประเทศไทยในเชิงเศรษฐกิจ มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) ศึกษาสภาพปัจจุบันเกี่ยวกับโบราณสถานเพื่อการท่องเที่ยวของประเทศไทย 2) วิเคราะห์ปัญหาการบริหารจัดการสถานที่ท่องเที่ยวโบราณสถานของประเทศไทยในเชิงเศรษฐกิจ และ 3) เสนอแนะแนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการสถานที่ท่องเที่ยวโบราณสถานของประเทศไทยในเชิงเศรษฐกิจ รวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ประกอบการท่องเที่ยว นักท่องเที่ยว และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากการท่องเที่ยว จำนวน 15 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Context Analysis) และการวิเคราะห์เปรียบเทียบ และสังเคราะห์ข้อมูลทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง สรุปผลการวิจัยได้ ดังนี้

ผลการวิจัยพบว่า จังหวัดพระนครศรีอยุธยามีความโดดเด่นในฐานะนครประวัติศาสตร์ จึงวางเป้าหมายที่จะพัฒนาให้เป็นนครแห่งการท่องเที่ยวระดับนานาชาติที่สามารถเชื่อมโยงการท่องเที่ยวไปสู่ภูมิภาคอื่นๆ ของประเทศ รวมถึงให้ประชาชนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และโบราณสถาน ปัญหาการบริหารจัดการสถานที่ท่องเที่ยวโบราณสถาน ประกอบด้วย 7 ประเด็นได้แก่ 1) ปัญหาการประชาสัมพันธ์ 2) ปัญหาการบริการ 3) ปัญหาด้านบุคลากร  4) ปัญหาแหล่งท่องเที่ยว 5) ปัญหาด้านเศรษฐกิจ 6) ปัญหาด้านสังคมและวัฒนธรรม และ 7) ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม สำหรับแนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการสถานที่ท่องเที่ยวโบราณสถานของประเทศไทย โดยคำนึงถึงการจัดการการท่องเที่ยวเชิงเศรษฐกิจที่ยั่งยืน ความสมดุลระหว่างเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมสามารถ กำหนดยุทธศาสตร์ได้ 5 ยุทธศาสตร์ 1) ยุทธศาสตร์ด้านการจัดการภาครัฐ 2) ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารภาคเอกชน 3) ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารภาคประชาชน และองค์กรท้องถิ่น 4) ยุทธศาสตร์ด้านการร่วมมือภาครัฐภาคเอกชน ภาคประชาชน และองค์กรท้องถิ่น และ 5) ยุทธศาสตร์สร้างแหล่งรายได้ทุกภาคส่วนอย่างยั่งยืน

ข้อเสนอแนะ  ควรอาศัยความร่วมมือและการเข้ามามีส่วนร่วมผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจากทุกภาคทุกส่วนเข้ามาระดมสมองเพื่อหาทางเลือกที่เหมาะสมที่สุดในการนำมาวางแผนและปฏิบัติการจึงจะเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการวางแผนยุทธศาสตร์เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีการนำผลที่ได้ไปปรับใช้จริง กับทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน รวมถึงภาคประชาชนและองค์กร ท้องถิ่น เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการพัฒนาการท่องเที่ยวของจังหวัด

 

References

กฤษฎา พิณศรี และคณะ. ศึกษาศักยภาพแหล่งโบราณสถานวัฒนธรรมล้านช้างในอีสานใต้
เพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม. สุรินทร์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏ, 2549.
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ : การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, 2539.
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. การจัดการการท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ : การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, 2540.
กุลวรา สุวรรณพิมล. ความหมายของนักท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า, 2548.
จุฑามาศ จันทรัตน์. การท่องเที่ยวกว้างไกล หัวใจอยู่ที่ความร่วมมือ. กรุงเทพฯ : การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. 2541.
ฉลองศรี พิมลสมพงศ์. การวางแผนและการพัฒนาตลาดการท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ :
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2542.
ฉลองศรี พิมลสมพงศ์. การวางแผนและพัฒนาการตลาดการท่องเที่ยว. พิมพ์ครั้ง
ที่ 4, กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2546.
คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ, สำนักงาน. คู่มือปฏิบัติการของหน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ศิลปกรรม
ท้องถิ่น. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ, 2530.
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สำนักงาน. พระนครศรีอยุธยา:มรดกโลกล้ำค่าภูมิปัญญา
เลื่องลือ. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2548.
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, สำนักงาน. บรรยายสรุปจังหวังพระนครศรีอยุธยา. พระนครศรีอยุธยา : สำนักงาน
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, 2562.
ชนะภัย เดชะวงศ์. การท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. กรุงเทพฯ : สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2547.
ชูสิทธิ์ ชูชาติ. อุตสาหกรรมท่องเที่ยว. พิมพ์ครั้งที่ 4, เชียงใหม่: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์สถาบันราช
ภัฎเชียงใหม่, 2546.
ธนิก เลิศชาญฤทธ์. การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยา
สิรินธร (องค์การมหาชน), 2552.
นิจ หิญชีระนันท์. ลักษณะด้านกายภาพของนครเชียงใหม่เทียบกับเมืองโบราณอื่นๆ ในสภาพอดีตกาลและ
ปัจจุบัน. เชียงใหม่ : คณะกรรมาธิการล้านนา สมาคมสถาปนิกสยาม กรมศิลปากร, 2528.
นิศา ชัชกุล. อุตสาหกรรมท่องเที่ยว. พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
2554.
บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. การวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัย
เชียงใหม่, 2542.
บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. กรุงเทพฯ: เพรส แอนด์ ดีไซน์, 2548.
เบญจมาศ อยู่ประเสริฐ. “การบริหารงานกลุ่ม”. ในประมวลสาระชุดวิชาองค์กรพัฒนาเพื่อการส่งเสริม
การเกษตรหน่วยที่ 10. นนทบุรี : สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2544.
โบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติที่ 3, สำนักงาน. มรดกไทย-มรดกโลก. กรุงเทพมหานคร : บริษัทกราฟิค
ฟอร์แมท (ไทยแลนด์) จำกัด, 2543.
โบราณคดี, สำนัก กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม. แนวทางการอนุรักษ์โบราณสถานสำหรับ
พระสงฆ์. กรุงเทพฯ : สำนักโบราณคดี กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม, 2550.
ปรีชา แดงโรจน์. อุตสาหกรรมท่องเที่ยวสู่ศตวรรษที่ 21. พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : บริษัท
ไฟว์ แอนด์ โฟร์ พริ้นติ้ง จำกัด, 2544.
ปรีชา แดงโรจน์. อุตสาหกรรมท่องเที่ยวสู่ศตวรรษที่ 21. กรุงเทพมหานคร : บริษัท. ไฟว์ แอนด์
โฟร์พริ้นติ้ง จำกัด, 2546.
พิสิฐ เจริญวงษ์. การอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุ. กรุงเทพฯ : ม.ป.ท, 2550
ไพฑูรย์ พงศะบุตร และวิลาสวงศ์ พงศะบุตร. คู่มือการอบรมมัคคุเทศก์. พิมพ์ครั้งที่ 6, กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์
วิทยาลัย, 2546.
มนัส สุวรรณ และคณะ. การจัดการการท่องเที่ยว. พิมพ์ครั้งที่ 8, กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2541.
ยุพดี เสตพรรณ. ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยวไทย. ปทุมธานี : สถาบันราชภัฏเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์,
2543.
รสิกา อังกูร. การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2547.
รัชพร จันทร์สว่าง. ความหมายของนักท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546.
วรรณา วงษ์วานิช. ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2539.
วนิดา ฟ้าอรุณ. ศักยภาพการจัดการการท่องเที่ยวของตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัด
ยะลา. กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2547.
วีรนุช (พลนิกร) ไม้ไทย. การศึกษาวัฒนธรรมท้องถิ่นกับการเพิ่มประสิทธิภาพของสถาบันส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมของกรมศิลปากร และการท่องเที่ยวกับการพัฒนาทางวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : ประชาชน, 2541.
ศิริ ฮามสุโพธิ์. ประชากรศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2539.
ศิลปากร, กรม. ข้อมูลเบื้องต้นในการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มิตรสัมพันธ์กราฟ
ฟิค จำกัด, 2531.
ศิลปากร, กรม. มาตรฐานและแนวปฏิบัติของกรมศิลปากรในการดำเนินการโบราณสถาน โบราณคดี และการ
พิพิธภัณฑ์. กรุงเทพฯ : พรีสแกล จำกัด, 2535.
ศิลปากร, กรม. ทฤษฎีและแนวปฏิบัติการอนุรักษ์อนุสรณ์สถานและแหล่งโบราณคดี. กรุงเทพฯ : หิรัญพัฒน์
จำกัด, 2553.
ส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น, กรม กระทรวงมหาดไทย. มาตรฐานการส่งเสริมการ
ท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: กรมการปกครองส่วนท้องถิ่น, 2550.
สมบัติ กาญจนกิจ. นันทนาการและอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544.
สุรเชษฎ์ เชษฐมาส. “วิสัยทัศน์การจัดการการท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติ”. ในรายงานการฝึกอบรมหลักสูตรการให้บริการด้านการท่องเที่ยวสาหรับเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติ. กรุงเทพฯ: ส่วนอุทยานแห่งชาติทาง
ทะเล สำนักอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ กรมป่าไม้, 2541.
สายันต์ ไพรชาญจิตร์. การจัดการทรัพยากรทางโบราณคดีในงานพัฒนาชุมชน. พิมพ์ครั้ง
ที่ 3, กรุงเทพฯ : โครงการหนังสือโบราณคดีชุมชน, 2550.
สุภาพร มากแจ้ง. หลักมัคคุเทศก์. พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 2534.
เดชา บุญค้ำ. “การอนุรักษ์กับการพัฒนา”, อาษา. 31(59) , 2537. หน้า 68 – 73.
ดลใจ มณีงาม. “พฤติกรรมและความพึงพอใจของผู้มาเที่ยวที่มีต่อการบริหารจัดการสถานที่
ท่องเที่ยวในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา”. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาการ
จัดการทั่วไป, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา, 2550.
นิสา พิมพิเศษ. “แนวทางการจัดการโบราณสถานในจังหวัดอุตรดิตถ์”. ปริญญาศิลปศาสตร
มหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม, มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2554.
พระมหาอิสรกานต์ ฐิตปุญฺโญ และคณะ. “การบริหารจัดการแหล่งโบราณสถานเพื่อการท่องเที่ยวเชิง
พุทธขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดสุราษฏร์ธานี.” รายงานการวิจัย,
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, วิทยาเขตนครศรีธรรมราช ห้องเรียน
สุราษฎร์ธานี, 2559.


พุทธชาติ ละอองมณี. “ศึกษาสภาพและแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยว จังหวัดสงขลา”.
ปริญญาศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยทักษิณ, 2544.
ภณสิทธ์ อ้นยะ. “แนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวตามกรอบมาตรฐานของ
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา”. ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการ
การท่องเที่ยวมหาวิทยาลัยพะเยา, 2561.
วันใหม่ แตงแก้ว. “การจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในเมืองเชียงคาน อำเภอเชียงคาน
จังหวัดเลย”. ปริญญาศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554.
วัลย์ลิกา เจริญศิลป์. “แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมจังหวัดนครราชสีมา”.
ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการท่องเที่ยว, มหาวิทยาลัยพะเยา, 2562.
วาสนา เลิกเปลี่ยน. “รูปแบบการจัดการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมในโบราณสถานเขตภาคกลาง
ตอนล่าง”. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาวัฒนธรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2556.
วิรินดา เจริญรัตน์. “บทบาทการเป็นเจ้าบ้านที่ดีในการส่งเสริมการท่องเที่ยวในจังหวัดอำนาจเจริญ”.ปริญญา
ศิลปศาสตร์บัณฑิต, สาขาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา, มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 2549.วิศรุต เนาวสุวรรณ์. “แนวทางการปรับปรุงภูมิทัศน์เมืองประวัติศาสตร์ลพบุรี”. ปริญญาสถาปัตยกรรม
มหาบัณฑิต, สาขาสถาปัตยกรรม, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546.
ศิริชัย นฤมิตรเรขากร. “การอนุรักษ์ศิลปกรรม”. การบรรยายประกอบวิชา 104300 ภาคการศึกษาที่ 1 ปี
การศึกษา 2541 สาขาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2541.
สิรินทิพย์ พันธ์มัฆวาฬ. “การพัฒนาและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศวัฒนธรรม จังหวัด
มหาสารคาม”. ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาวัฒนธรรมศาสตร์,
มหาวิทยาลัย มหาสารคาม, 2552.
สุนีย์ ทองจันทร์ และคณะ. “ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายในการบริหารจัดการโบราณสถาน โบราณวัตถุ
และสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ : ศึกษากรณีเกาะเมือง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา”. รายงาน
การวิจัย, สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, 2556.
สิรินทิพย์ พันธ์มัฆวาฬ. “ศึกษาการพัฒนาและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศวัฒนธรรม จังหวัด
มหาสารคาม”. ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2552.
สถิติจังหวัดพระนครศรีอยุธยา, สำนักงาน. รายงานสถิติการท่องเที่ยวในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
(อัดสำเนา), 2562.
อภิชาติ เหล็กดี, ณัฐพงศ์ พลสยม และอุมาภรณ์ พลสยม. “การส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวโบราณสถานทาง
วัฒนธรรมโดยใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน”. รายงานการวิจัย, สถาบันวิจัยและพัฒนา,
มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม, 2562.
Gee, C. Y., Dexter, J. L., Choy, J., & Makens. C. The Travel Industry. Connecticut : AVI Publishing,
1984.
Lundberg, Donald E. The Tourist Business. New York : Van Nostrand Reinlod, 1985.
Mill, R. & Morrison, A. M. The Tourism System.: and Introductory Text. New Jersey : Prince –
Hall Intentional Inc., 1992.
McIntosh R.W. & Goeldner C.R. Tourism Principles, Practices, Philosophies. New York: John
Wiley & Son, 1989.
Swarbrooke, J. & Horner, S. H. Consumer Behavior in Tourism. Oxford : Butterworth
Heinemann, 1999.
Lipe, W.D., and S.G. Ortman. “Spatial Patterning in Northern San Juan Villages”, Kiva. 66 (1),
2000. p.91 -122.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-04-30