การฟ้องคดีอาญาโดยสุจริต

ผู้แต่ง

  • Kittisak Wongcheen ku

คำสำคัญ:

จำเลย, การสันนิษฐานไว้ก่อนว่าเป็นผู้บริสุทธิ์, กระบวนการยุติธรรม, สุจริต, บุคคลผู้มาศาลต้องมาด้วยมือสะอาด

บทคัดย่อ

แม้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ จะให้ความคุ้มครองบุคคลที่ตกเป็นจำเลยในคดีอาญาโดยให้ถือว่าบุคคลย่อมได้รับการสันนิษฐานไว้ก่อนว่าเป็นผู้บริสุทธิ์จนกว่าจะมีคำพิพากษาถึงที่สุดว่าเป็นผู้กระทำความผิด แต่ในความเป็นจริงแล้ว ก่อนที่บุคคลนั้นจะพิสูจน์ตัวเองในกระบวนการยุติธรรมจนถึงที่สุดว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ จำเลยในคดีอาญาย่อมได้รับผลกระทบไม่ว่าจะเป็นผลกระทบด้านจิตใจ ด้านชื่อเสียง ด้านทรัพย์สิน หรือแม้แต่ด้านอิสรภาพ สำหรับรัฐเองซึ่งมีหน้าที่ในการคุ้มครองสิทธิของจำเลยในคดีอาญาย่อมต้องจัดสรรงบประมาณเพื่อช่วยเหลือทางกฎหมายแก่จำเลยในคดีอาญา ดังนั้น การฟ้องคดีจึงควรเป็นไปโดยสุจริตตามสุภาษิตกฎหมายที่ว่า “บุคคลผู้มาศาลต้องมาด้วยมือสะอาด” เพื่อมิให้มีการใช้การฟ้องคดีอาญาเพียงเพื่อที่จะกลั่นแกล้งผู้อื่น

References

“การฟ้องกลั่นแกล้งในไทย ปัญหาที่นักปกป้องสิทธิมนุษยชนยุคใหม่ต้องเผชิญ” . (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : http://www.nhrc.or.th/getattachment/2bb54184-bc6f-4d6c-950f-cf1244c52662/%E0%B8%9B%E0%B8%B5%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88-18-%E0%B8%89%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8% 97%E0%B8%B5%E0%B9%88-7-%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%81% E0%B8%8E%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A1-2562.aspx, ๒๕๖๒.
กิตติศักดิ์ ปรกติ. “หลักสุจริตและเหตุเหนือความคาดหมายในการชำระหนี้ (Good Faith & Supervening Events) ในระบบกฎหมาย เยอรมัน ฝรั่งเศส แองโกลอเมริกัน และไทย” . (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : http://www.law.tu.ac.th/goodfaith_kittisak/, ๒๕๖๓.
“ชาวบ้านเมืองเลยเฮ ฟ้องกลับชนะ นายทุนเหมืองแร่ หลังถูกเรียกเงิน 50 ล้าน เพราะติดป้าย”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://www.khaosod.co.th/around-thailand/news_2001945, ๒๕๖๑.
ชำนาญ จันทร์เรือง. “การฟ้องปิดปาก” . (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : http://public-law.net/publaw/view.aspx?id=2039, ๒๕๖๑.
ดรัณ ขมะวรรณ. “การใช้สิทธิโดยสุจริต : ศึกษาเฉพาะประเด็นผู้รับประกันภัยรับช่วงสิทธิมาเรียกค่าสินไหมทดแทน”. ผลงานส่วนบุคคล, การอบรมหลักสูตรผู้พิพากษาผู้บริหารในศาลชั้นต้น รุ่นที่ ๑๔, สถาบันพัฒนาข้าราชการตุลาการศาลยุติธรรม, ๒๕๕๘.
“ทำความรู้จัก การปล่อยชั่วคราวโดยใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://emc.coj.go.th/th/content/category/detail/id/6091/cid/6093/iid/96482, ๒๕๖๓.
“ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับ Update ล่าสุด)”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : http://web.krisdika.go.th/data/law/law4/%BB05/%BB05-20-9999-update.pdf, ๒๕๖๓.
“ประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับ Update ล่าสุด)”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://web.krisdika.go.th/data/law/law4/%BB06/%BB06-20-9999-update.pdf, ๒๕๖๓.
พรสันต์ เลี้ยงบุญเลิศชัย. “หลักสุจริตในระบบกฎหมาย” . (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://www.senate.go.th/assets/portals/93/fileups/272/files/S%E0%B9%88ub_Jun/3journal/b164%20jun_10_6.pdf, ๒๕๖๓.
“รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐” . (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/A/040/1.PDF, ๒๕๖๓.
วรนารี สิงโต. “หลักสุจริต”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://www.stou.ac.th/schools/slw/upload/ex40701-1.pdf, ๒๕๖๓.
สำนักงบประมาณของรัฐสภา. “รายงานวิชาการสำนักงบประมาณของรัฐสภา ฉบับที่ ๖/๒๕๕๙ “การวิเคราะห์การดำเนินงานและแนวทางการพัฒนากองทุนยุติธรรม””. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parbudget/ewt_dl_link.php?nid=257, ๒๕๖๓.
“หลักเกณฑ์ในการประกันตัวผู้ต้องหา” . (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : http://www.ppty.ago.go.th/index.php/2016-09-13-07-54-15/8-ip/26-2016-09-13-07-02-13, ๒๕๖๓.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-02-11