การการกำหนดตัวชี้วัดแบบมีส่วนร่วม (Collective KPI) เพื่อขับเคลื่อนการบูรณาการการดำเนินงานของภาครัฐ
คำสำคัญ:
ตัวชี้วัดร่วม, ห่วงโซ่คุณค่า, การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการบทคัดย่อ
การดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐในปัจจุบันยังขาดการบูรณาการในการดำเนินงานเพื่อผลักดันให้บรรลุเป้าหมายร่วมกันภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ส่งผลให้เกิดการดำเนินงานแบบต่างคนต่างทำ และไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน หรือมีการดำเนินงานที่ซ้ำซ้อนกัน ดังนั้น เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐสามารถดำเนินภารกิจโดยบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติในแต่ละด้านอย่างสอดประสาน เป็นไปในทิศทางเดียวกัน และมีการบูรณาการการทำงานให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด จึงควรมีการกำหนดตัวชี้วัดแบบมีส่วนร่วม (Collective KPI) ที่มีการกำหนดเป้าหมายตัวชี้วัดเดียวกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐที่อยู่ในกลุ่มภารกิจงานที่เชื่อมโยงกันภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความ ข้อเขียน หรือความคิดเห็นในนิตยสารนี้เป็นของผู้เขียน ไม่ผูกพันกับวิทยาลัย ป้องกันราชอาณาจักรและทางราชการแต่อย่างใด