การพัฒนาชุดจำลองการทำงานของระบบปรับอากาศชิลเลอร์ ในรายวิชาการทำความเย็นและปรับอากาศ คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

Main Article Content

โอสถ คนซื่อ

บทคัดย่อ

          การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาการทำความเย็นและปรับอากาศ ก่อนและหลังด้วยชุดจำลองการทำงานของระบบชิลเลอร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัยได้แก่ ผู้เรียนโปรแกรมวิชาเทคโนโลยีเครื่องกล ชั้นปีที่ 4 จำนวน 20 คน และผู้เรียนโปรแกรมวิชาวิศวกรรมเครื่องกล ชั้นปีที่ 3 จำนวน 20 คน รวมทั้งสิ้น 40 คน คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ชุดจำลองการทำงานของระบบปรับอากาศชิลเลอร์ แบบทดสอบก่อนและหลังการเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบ t-test พบว่า คะแนนทดสอบเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าคะแนนทดสอบเฉลี่ยก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 ส่งผลให้กลุ่มตัวอย่างมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้น แสดงว่าชุดจำลองการทำงานของระบบชิลเลอร์ ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจหน้าที่อุปกรณ์ ลำดับการทำงาน วงจรไฟฟ้าควบคุมและสามารถหาสาเหตุข้อบกพร่องของระบบปรับอากาศชิลเลอร์ดีขึ้น และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์กับระบบปรับอากาศชิลเลอร์ขนาดใหญ่ในอนาคตได้

Article Details

How to Cite
คนซื่อ โ. (2019). การพัฒนาชุดจำลองการทำงานของระบบปรับอากาศชิลเลอร์ ในรายวิชาการทำความเย็นและปรับอากาศ คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน. วารสารวิชาการ มทร.สุวรรณภูมิ ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 4(2), 199–208. สืบค้น จาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/rmutsb-hs/article/view/150985
บท
บทความวิจัย

References

Baladoh, S. M., Elgamal, A. F., & Abas, H. A. (2016). Virtual lab to develop achievement in electronic circuits for hearing-impaired students. Educ Inf Technol, 22(5), 2071-2085.

Chusith, P. (2008). A comparative study of learning achievement retention and preference in the use of game teaching and conventional teaching: Industrial technical drawing course. RMUTP Research Journal, 2(1), 96-109. (in Thai)

Deevanichsakul, S., & Sramoon, B. (2016). The instructional package development to subject competency in automotive mathematics of vocational certificate curriculum B.E. 2556 office of the vocational education commission. ITED Journal, 28(97), 81-86. (in Thai)

Li, N., Chang, L., Gu, Y. X., & Lim Duh, H. B. (2011). Influences of AR–supported simulation on learning effectiveness in face-to-face collaborative learning for physics. In 2011 11th IEEE International Conference on Advanced Learning Technologies (pp. 320-322). Athens, GA, USA: IEEE.

Nilsook, P. (2000). Computer based simulation (CBS). Journal of Education, 12(2), 47-58. (in Thai)

Pangsri, S. (2007). Creating and evaluating the effectiveness of computer assisted instruction program for reading vernier caliper and micrometer. RMUTP Research Journal, 1(2), 197-202. (in Thai)

Pearmarn, C., & Witta, J. (2014). The development of self-directed supplementary learning module on pneumatics system. ITED Journal, 26(89), 73-78. (in Thai)

Phattiyathani, S. (2003). Educational measurement. (4th ed.). Kalasin: Prasan Printing. (in Thai)

Prompoowong, N., & Witta, J. (2014). The development of self-directed supplementary learning module on hydraulics system. ITED Journal, 26(89), 66-72. (in Thai)

Sinthuchai, S., & Ubolwan, K. (2017). Fidelity simulation based learning: implementation to learning and teaching management. Journal of The Royal Thai Army Nurses, 18(1), 29-38. (in Thai)

Tangam, W., & Polyiam, U. (2007). The learning styles of students of RIT Chotiwet Campus. RMUTP Research Journal, 1(1), 51-58. (in Thai)

Yakhanthip, T., & Jedchroenruk, S. (2014). Construction and efficient validation of online lesson on the refrigeration and air-condition. ITED Journal, 26(90), 50-56. (in Thai)