ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ SSCS ร่วมกับชุดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์

Main Article Content

เพ็ญนภา วาจาเพชร
กตัญญุตา บางโท
อารี สาริปา

บทคัดย่อ

บทความวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หลังเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ SSCS ร่วมกับชุดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์  กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวัดโพธิ์เสด็จ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวน 15 คนโดยการสุ่มแบบกลุ่ม ใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยในการสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบ SSCS ร่วมกับชุดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่องปริซึมและทรงกระบอก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และ 2) แบบทดสอบความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์และเกณฑ์การให้คะแนนความสามารถในการแก้ปัญหา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ และสถิติของ Wilcoxon signed rank test


ผลการวิจัยพบว่า ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หลังเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ SSCS ร่วมกับชุดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่องปริซึมและทรงกระบอก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 อยู่ในระดับดี เมื่อพิจารณาแต่ละขั้นดังนี้ ขั้นทำความเข้าใจปัญหา นักเรียนได้คะแนนคิดเป็นร้อยละ 89.44 ความสามารถอยู่ในระดับดีเยี่ยม ขั้นวางแผนในการแก้ปัญหา นักเรียนได้คะแนนคิดเป็นร้อยละ 60.00 ความสามารถอยู่ในระดับพอใช้  ขั้นดำเนินการแก้ปัญหา นักเรียนได้คะแนนคิดเป็นร้อยละ 83.33 ความสามารถอยู่ในระดับดีเยี่ยม และขั้นตรวจสอบผล นักเรียนได้คะแนน คิดเป็นร้อยละ 78.33 ความสามารถอยู่ในระดับดี 

Article Details

How to Cite
วาจาเพชร เ. ., บางโท ก. ., & สาริปา อ. . (2024). ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ SSCS ร่วมกับชุดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์. วารสารวิชาการ มทร.สุวรรณภูมิ ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 9(1), 92–106. สืบค้น จาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/rmutsb-hs/article/view/265892
บท
บทความวิจัย

References

Chin, C. (1997). Promoting higher cognitive learning in science through a problem-solving approach. React, 1997(1), 7-17.

Kesi, J. (2017). The results of SSCS learning activities to promote mathematical problem solving ability and mathematics learning achievement of Grade 3 students (Master’s thesis). Mahasarakham University, Mahasarakham. (in Thai)

Khamkoon, P. (2013). Development of science activity packages, subject group learning science about the life of plants to develop thinking skills by using the knowledge-seeking cycle teaching model (Master’s thesis). Rajabhat Rajanagarindra University, Chachoengsao. (in Thai)

Laoreendee, W., Kitrungruang, P., & Sirisamphan, O. (2017). Proactive learning management strategies to develop thinking and raise the quality of education for the 21st century. Nakhon Pathom: Petchkasem Printing Group. (in Thai)

Makanong, A. (2010). Mathematics: Teaching and learning. Bangkok: Center for Academic Textbooks and Documents, Faculty of Education, Chulalongkorn University. (in Thai)

Makanong, A. (2016). Mathematical skills and processes: Development for development. Bangkok: Center for Textbooks and Academic Documents, Faculty of Education, Chulalongkorn University. (in Thai)

Mala, T. (2018). The calculation and reasoning skills in mathematics learning area diagnostic test development for Prathom Suksa lll students in Lampang primary education service area 2. RMUTSB Academic Journal (Humanities and Social Sciences), 3(1), 1-13. (in Thai)

Noisri, W. (2020). The development of SSCS learning activities to enhance mathematical problem solving ability conic section for high school students 4. Journal of Santaphon College, 6(1), 30-38. (in Thai)

Pizzini, L., Shepardson, P., & Aball, K. (1989). A rationale for and the development of a problem solving model of instruction in science education. Science Education, 73(5), 523-534.

Samranwong, N. (2017). SSCS-based learning management for developing mathematical problem-solving abilities and mathematics learning achievement. applied story for students in Grade 5 (Master’s thesis). Burapha University, Chonburi. (in Thai)

Tanyarattanasrisakul, M. (2021). Development of logical thinking ability, mathematical learning habits of mind, and work commitment application on " Analysis of quantitative data and Its presentation" of Matthayomsuksa 6 Student using the Buddhist method focused on active learn. RMUTSB Academic Journal (Humanities and Social Sciences), 6(1), 92-108. (in Thai)

Thamrongsothisakul, W. (2017). Reflections on the concept of teaching packages. set of learning activities and learning series. Journal of Education Naresuan University, 19(3), 356-369. (in Thai)

Thipkong, S. (2002). Curriculum and teaching of mathematics. Bangkok: Develop Academic Quality. (in Thai)

Tornong, R. (2018). The effect of SSCS learning management combined with Polya's problem-solving process. Effects on problem solving ability of Prathom Suksa 6 Students. Walaya Alongkorn Review Journal (Humanities and Social Sciences), 8(3), 13-25. (in Thai)

Wibawati, F. (2009). Penerapan Pem belajaran Kooperatif SSCS (search solve create and share) Terhadap Hasil Biologi Siswa Pokok Bahasan Ekosistem Di Kelas Vii E Semester. Retrieved November 26, 2022 , from : http://eprints.ums.ac.id/4326/1/A420050100.pdf

Yasin, M. (2020). The effect of SSCS learning model on reflective thinking skills and problem solving ability. European Journal of Educational Research, 9(2), 743-752.