โซนสีเทาในพื้นที่สีแดง: ภาพสะท้อนจากเขตปลดปล่อยบริเวณชุมชนเชิงเขาบรรทัดในยุคสงครามเย็น
Abstract
บทความนี้นำเสนอปรากฏการณ์ของความขัดแย้งระหว่างฝ่ายอำนาจรัฐและฝ่ายคอมมิวนิสต์ในพื้นที่ต่างๆ ของชุมชนเชิงเขาบรรทัด ซึ่งเรียกอย่างเป็นทางการว่า “เทือกเขานครศรีธรรมราช” ที่แบ่งกั้นภาคใต้ออกเป็นสองฝั่งคาบสมุทร และในทางพื้นที่การปกครองถือว่าเป็นเทือกเขาที่ผ่านหลายจังหวัดตั้งแต่สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง ตรัง สตูล และสงขลา โดยผู้เขียนได้หยิบยกความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในยุคสงครามเย็น ตั้งแต่ช่วงปลายทศวรรษ 2500 ถึงต้นทศวรรษ 2530 ซึ่งลัทธิคอมมิวนิสต์มีอิทธิพลอยู่ในพื้นที่ต่างๆ ของภาคใต้ โดยจะเน้นกล่าวถึงชุมชนเชิงเขาบรรทัดในจังหวัดพัทลุง ซึ่งเกิดการใช้ความรุนแรงโดยรัฐจนเป็นเงื่อนไขให้มีการต่อสู้กับฝ่ายอำนาจรัฐยาวนานที่สุดแห่งหนึ่งReferences
Central Intelligence Agency. (1966). Communist Insurgency in Thailand. Retrieved from https://www.cia.gov/library/readingroom/docs/DOC_0000012498.pdf
Douglas C. Lovelace, Jr. (2016). Terrorism: Commentary on Security Documents. New York: Oxford University Press.
International Security Advisory Board. (January 3, 2017). Report on Gray Zone Conflict. Retrieved from https://www.state.gov/t/avc/isab/266650.htm
Michael J. Mazarr. (December 2015). Mastering the Gray Zone: Understanding a Changing Era of Conflict. The United States Army War College Press.
James C. Scott. (2009). The Art of Not Being Governed: An Anarchist History of Upland Southeast Asia. New Haven: Yale University Press.
Javier Auyero. (2007). Routine Politics and Violence in Argentina: The Gray Zone of State Power. New York: Cambridge University Press.
Max Weber. (2004). The Vocation Lectures. Translation by Rodney Livingstone. Indiana: Hackett.
โครงการเฉพาะกิจกลุ่มภูบรรทัด. (2544). บนเส้นทางภูบรรทัด: ตำนานการต่อสู้ด้วยกำลังอาวุธของประชาชน พัทลุง – ตรัง – พัทลุง. กรุงเทพฯ: โครงการเฉพาะกิจกลุ่มภูบรรทัด.
จรูญ หยูทอง. (2558). แนวรบด้านใต้ในสถานการณ์ไฟลามทุ่ง “ไม่รบนายไม่หายจน”. วารสารรูสมิแล. 36 (3), 74 – 84.
ชัยยันต์ ศุภกิจ. ความเป็นมาของ พคท. ในจังหวัดพัทลุง. สืบค้นจาก http://www.muanglung.com/communist01.htm
เตช บุนนาค. (2548). การปกครองระบบเทศาภิบาลของประเทศสยาม พ.ศ. 2435 – 2458 (พิมพ์ครั้งที่ 2) (ภรดี กาญจนัษฐิติ, ผู้แปล). กรุงเทพ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ปริญญา นวลเปียน. (2550). ชุมชนเทือกเขาบรรทัด: การต่อสู้ของชุมชนกับนายและรัฐสมัยใหม่. สืบค้นจาก http://v1.midnightuniv.org/midnight2544/0009999775.html
ปริญญา นวลเปียน. (2550). อำนาจรัฐและการต่อต้านของชุมชนเทือกเขาบรรทัดในบริเวณลุ่มทะเลสาบสงขลา ในช่วงทศวรรษ 2460-2520 ใน มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะอักษรศาสตร์, หนึ่งทศวรรษการศึกษาประวัติศาสตร์ ภาคใต้: การประชุมสัมมนาทางวิชาการ. นครปฐม: ผู้แต่ง
นครินทร์ เมฆไตรรัตน์, (ม.ป.ป.). นโยบายใต้ร่มเย็น. สืบค้นจาก http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=นโยบายใต้ร่มเย็น
ปริญญา นวลเปียน. (2550). ชุมชนเทือกเขาบรรทัด: การต่อสู้ของชุมชนกับนายและรัฐสมัยใหม่. สืบค้นจาก http://v1.midnightuniv.org/midnight2544/0009999775.html
พรพิไล เลิศวิชา. (2532). คีรีวง: จากไพร่หนีนายถึงธนาคารแห่งขุนเขา. กรุงเทพฯ: หมู่บ้าน.
พรทิพย์ แซ่เตียว. (2551). สมาชิก พคท. ที่เคยปฏิบัติงานอยู่ในฐานที่มั่นจังหวัดน่าน ละเลิกรูปการจิตสำนึกชนชั้นกรรมาชีพแล้วจริงหรือ?. วารสารศิลปศาสตร์, 8 (1), 277-311.
ศูนย์กรรมวิธีข้อมูล. กองทัพภาคที่ 4. สืบค้นจาก http://www.army4.net/histroy.php
พระครูแดง เกตุปุริโส. (7 มีนาคม 2545). [บทสัมภาษณ์]
สารูป ฤทธิ์ชู และคณะ. (2546). รายงานการวิจัยเรื่อง การเมืองท้องถิ่นบริเวณลุ่มทะเลสาบสงขลา พ.ศ. 2439-2534. กลุ่มโครงการ “ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นภาคใต้บริเวณลุ่มทะเลสาบสงขลา” สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
เสือพรานควง. (21 มีนาคม 2554). [บทสัมภาษณ์]
ศรีวรวัติ (พิณ จันทโรจน์วงศ์), หลวง. (2497). พงศาวดารเมืองพัทลุง (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เจริญธรรม.
เหล็ก ชายเกตุ. (8 มีนาคม 2545). [บทสัมภาษณ์]
Douglas C. Lovelace, Jr. (2016). Terrorism: Commentary on Security Documents. New York: Oxford University Press.
International Security Advisory Board. (January 3, 2017). Report on Gray Zone Conflict. Retrieved from https://www.state.gov/t/avc/isab/266650.htm
Michael J. Mazarr. (December 2015). Mastering the Gray Zone: Understanding a Changing Era of Conflict. The United States Army War College Press.
James C. Scott. (2009). The Art of Not Being Governed: An Anarchist History of Upland Southeast Asia. New Haven: Yale University Press.
Javier Auyero. (2007). Routine Politics and Violence in Argentina: The Gray Zone of State Power. New York: Cambridge University Press.
Max Weber. (2004). The Vocation Lectures. Translation by Rodney Livingstone. Indiana: Hackett.
โครงการเฉพาะกิจกลุ่มภูบรรทัด. (2544). บนเส้นทางภูบรรทัด: ตำนานการต่อสู้ด้วยกำลังอาวุธของประชาชน พัทลุง – ตรัง – พัทลุง. กรุงเทพฯ: โครงการเฉพาะกิจกลุ่มภูบรรทัด.
จรูญ หยูทอง. (2558). แนวรบด้านใต้ในสถานการณ์ไฟลามทุ่ง “ไม่รบนายไม่หายจน”. วารสารรูสมิแล. 36 (3), 74 – 84.
ชัยยันต์ ศุภกิจ. ความเป็นมาของ พคท. ในจังหวัดพัทลุง. สืบค้นจาก http://www.muanglung.com/communist01.htm
เตช บุนนาค. (2548). การปกครองระบบเทศาภิบาลของประเทศสยาม พ.ศ. 2435 – 2458 (พิมพ์ครั้งที่ 2) (ภรดี กาญจนัษฐิติ, ผู้แปล). กรุงเทพ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ปริญญา นวลเปียน. (2550). ชุมชนเทือกเขาบรรทัด: การต่อสู้ของชุมชนกับนายและรัฐสมัยใหม่. สืบค้นจาก http://v1.midnightuniv.org/midnight2544/0009999775.html
ปริญญา นวลเปียน. (2550). อำนาจรัฐและการต่อต้านของชุมชนเทือกเขาบรรทัดในบริเวณลุ่มทะเลสาบสงขลา ในช่วงทศวรรษ 2460-2520 ใน มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะอักษรศาสตร์, หนึ่งทศวรรษการศึกษาประวัติศาสตร์ ภาคใต้: การประชุมสัมมนาทางวิชาการ. นครปฐม: ผู้แต่ง
นครินทร์ เมฆไตรรัตน์, (ม.ป.ป.). นโยบายใต้ร่มเย็น. สืบค้นจาก http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=นโยบายใต้ร่มเย็น
ปริญญา นวลเปียน. (2550). ชุมชนเทือกเขาบรรทัด: การต่อสู้ของชุมชนกับนายและรัฐสมัยใหม่. สืบค้นจาก http://v1.midnightuniv.org/midnight2544/0009999775.html
พรพิไล เลิศวิชา. (2532). คีรีวง: จากไพร่หนีนายถึงธนาคารแห่งขุนเขา. กรุงเทพฯ: หมู่บ้าน.
พรทิพย์ แซ่เตียว. (2551). สมาชิก พคท. ที่เคยปฏิบัติงานอยู่ในฐานที่มั่นจังหวัดน่าน ละเลิกรูปการจิตสำนึกชนชั้นกรรมาชีพแล้วจริงหรือ?. วารสารศิลปศาสตร์, 8 (1), 277-311.
ศูนย์กรรมวิธีข้อมูล. กองทัพภาคที่ 4. สืบค้นจาก http://www.army4.net/histroy.php
พระครูแดง เกตุปุริโส. (7 มีนาคม 2545). [บทสัมภาษณ์]
สารูป ฤทธิ์ชู และคณะ. (2546). รายงานการวิจัยเรื่อง การเมืองท้องถิ่นบริเวณลุ่มทะเลสาบสงขลา พ.ศ. 2439-2534. กลุ่มโครงการ “ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นภาคใต้บริเวณลุ่มทะเลสาบสงขลา” สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
เสือพรานควง. (21 มีนาคม 2554). [บทสัมภาษณ์]
ศรีวรวัติ (พิณ จันทโรจน์วงศ์), หลวง. (2497). พงศาวดารเมืองพัทลุง (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เจริญธรรม.
เหล็ก ชายเกตุ. (8 มีนาคม 2545). [บทสัมภาษณ์]
Downloads
Published
2019-03-05
How to Cite
นวลเปียน ป. (2019). โซนสีเทาในพื้นที่สีแดง: ภาพสะท้อนจากเขตปลดปล่อยบริเวณชุมชนเชิงเขาบรรทัดในยุคสงครามเย็น. RUSAMILAE JOURNAL, 39(3), 7–20. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/rusamelae/article/view/178870
Issue
Section
ACADEMIC ARTICLES
License
บทความในวารสารรูสมิแลเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน ผู้ประสงค์จะนำข้อความใดๆ ไปเผยแพร่
ต้องได้รับอนุญาตจากผู้เขียนตามกฎหมายลิขสิทธิ์ และแจ้งให้ทางกองบรรณาธิการทราบ
กองบรรณาธิการขอสงวนลิขสิทธิ์ในการตัดทอน/ปรับแก้ถ้อยคำเพื่อความเหมาะสม