คติของรัฐในหนังสืออ่านเพิ่มเติมของหลักสูตรอิสลามศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

Authors

  • สัมพันธ์ วารี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Abstract

การจัดทำหนังสืออ่านเพิ่มเติมของกระทรวงศึกษาธิการ

การจัดทำหนังสืออ่านเพิ่มเติมหรือหนังสืออ่านประกอบ คือส่วนหนึ่งของการจัดทำ ‘หนังสือเสริมประสบการณ์’ ในระบบการศึกษาไทย ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากรัฐอย่างจริงจังนับตั้งแต่แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ระยะที่ 4 (พ.ศ.2520-2524) ซึ่งเป็นแผนพัฒนาการศึกษาที่มีวัตถุประสงค์ว่า “เร่งพัฒนาการศึกษาทุกระดับและประเภทให้เหมาะสมกับสภาพที่เป็นจริงของประเทศ และให้สนองความต้องการขั้นพื้นฐานทางสังคมและการพัฒนาประเทศโดยมุ่งให้การศึกษามีส่วนช่วยเสริมสร้างคุณภาพและประสิทธิภาพของพลเมืองไทยให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล” อันทำให้เห็นได้ว่า รัฐมีความพยายามในการลงทุนทางด้านการศึกษาอย่างเต็มที่ เพื่อเร่งพัฒนาพลเมืองให้มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้วัตถุประสงค์ของแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติดังกล่าวก็ได้นำมาสู่การออกนโยบายการลงทุนในการพัฒนาหลักสูตร พัฒนาอุปกรณ์การเรียนการสอน การปรับปรุงคุณภาพของครู อีกทั้งมีการสร้างแนวคิดที่ว่าเด็กจะต้องสามารถคิด แสวงหาความรู้เพิ่มเติมด้วยการค้นคว้า โดยมีอุปกรณ์ที่เหมาะสม กระทั่งได้เริ่มมีการสนับสนุนให้มีการจัดทำหนังสืออ่านประกอบบทเรียน (หนังสือเสริมประสบการณ์) ขึ้นมาในขณะนั้น (ศักดิ์ศรี ปาณะกุล, ประพิมพ์พรรณ สุธรรมวงศ์, และนพคุณ คุณาชีวะ, 2521, น. 105-106)

References

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2529ก). หนังสืออ่านเพิ่มเติมระดับประถมศึกษาเรื่อง อัล-กุรฺอาน. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2529ข). หนังสืออ่านเพิ่มเติมระดับมัธยมศึกษาเรื่อง เมื่อถึงวันนั้น. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2529ค). หนังสืออ่านเพิ่มเติมระดับประถมศึกษาเรื่อง ชุมชนของอับดุลหะลีม. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2529ง). หนังสืออ่านเพิ่มเติมระดับประถมศึกษาเรื่อง จริยธรรม. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2529จ). หนังสืออ่านเพิ่มเติมระดับประถมศึกษาเรื่อง ศาสนประวัติ. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2532ก). หนังสืออ่านเพิ่มเติมระดับประถมศึกษาเรื่อง สุลัยมาน. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2532ข). หนังสืออ่านเพิ่มเติมระดับประถมศึกษาเรื่อง จดหมายจากพ่อ. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2534ก). หนังสืออ่านเพิ่มเติมระดับมัธยมศึกษาเรื่อง รอยอดีต. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2534ข). หนังสืออ่านเพิ่มเติมระดับมัธยมศึกษาเรื่อง พ่อค้ามุสลิม. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2534ค). หนังสืออ่านเพิ่มเติม ระดับมัธยมศึกษาเรื่อง ชีวิตที่ลิขิต. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2534ง). หนังสืออ่านเพิ่มเติม ระดับมัธยมศึกษาเรื่อง สำนึกสุดท้ายของอามีรฺ. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2534จ). หนังสืออ่านเพิ่มเติม ระดับมัธยมศึกษาเรื่อง อาเยาะห์. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2534ฉ). หนังสืออ่านเพิ่มเติม ระดับมัธยมศึกษาเรื่อง รักแท้. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2538ก). หนังสืออ่านเพิ่มเติมระดับมัธยมศึกษาเรื่อง เสาหลักแห่งความศรัทธา. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2538ข). หนังสืออ่านเพิ่มเติม ระดับมัธยมศึกษาเรื่อง น้ำตาแม่. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2538ค). หนังสืออ่านเพิ่มเติมระดับประถมศึกษาเรื่อง โอ้...อัลลอฮฺ. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2538ง). หนังสืออ่านเพิ่มเติมระดับมัธยมศึกษาเรื่อง มรสุมชีวิต. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2538จ). หนังสืออ่านเพิ่มเติม ระดับประถมศึกษาเรื่อง รสูลลุลลอฮฺ. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2538ฉ). หนังสืออ่านเพิ่มเติม ระดับมัธยมศึกษาเรื่อง คำพิพากษา. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2541). หนังสืออ่านเพิ่มเติมระดับประถมศึกษาเรื่อง มานะกับซีตี. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2542ก). หนังสืออ่านเพิ่มเติมระดับประถมศึกษาเรื่อง เด๊ะทำได้. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2542ข). หนังสืออ่านเพิ่มเติมระดับประถมศึกษาเรื่อง ครูจินดา. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2542ค). หนังสืออ่านเพิ่มเติมระดับประถมศึกษาเรื่อง ซะกาฮฺ ทรัพย์สินสร้างสรรค์สังคม. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). หนังสืออ่านเพิ่มเติมระดับประถมศึกษาเรื่อง มลาอิกะฮฺ. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2516). การพิจารณาปัญหาหลักสูตร และแบบเรียนในเขตการศึกษาธิการ 2 (ศธ.15.11.2/28 กล่อง 2). หอสมุดวชิรญาณ, กรุงเทพฯ.
คณะทำงานสุขภาพคนไทย. (2555). รายงานสุขภาพคนไทย 2555 เรื่อง วิวัฒนาการนโยบายทางประชากร. สืบค้นจาก https://www.hiso.or.th/hiso/picture/reportHealth/ThaiHealth2012/thai2012_12.pdf
จินตนา ใบกาซูยี. (2534). การจัดทำหนังสือสำหรับเด็ก. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
ณัฐพร ปุ๋ยรักษา. (2552). สภาพและปัญหาการจัดการเรียนการสอนอิสลามศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะคุรุศาสตร์, สาขาการสอนสังคมศึกษา.

Downloads

Published

2019-12-24

How to Cite

วารี ส. (2019). คติของรัฐในหนังสืออ่านเพิ่มเติมของหลักสูตรอิสลามศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. RUSAMILAE JOURNAL, 40(3), 7–26. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/rusamelae/article/view/231354