ความเป็นมาของการจัดการชายแดนใต้ : เรื่องเล่าการประท้วง กรณี ‘สะพานกอตอ’ สมัยรัฐบาล ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช
Abstract
เดือนธันวาคมสำหรับคนทั่วไปอาจจะเป็นเดือนสุดท้ายแห่งปีที่อาจคาดหวังได้ว่าอะไรต่อมิอะไรที่ไม่พึงปรารถนาซึ่งดำเนินการผ่านมาตั้งแต่ต้นปีน่าจะถึงคราวจบสิ้น พร้อมกับจะได้รอคอยสิ่งดีๆ ที่จะมาถึงพร้อมกับศักราชใหม่อย่างมีความหวัง แต่สำหรับคนไทยเมื่อปี พ.ศ.2518 ทั้งศักราชเก่าและศักราชใหม่ดูเหมือนจะเต็มไปด้วยสถานการณ์ขวัญเสียไม่รู้จบ ทั้งสถานการณ์สงครามประชาชน การชุมนุมประท้วงภายในของกลุ่มอาชีพต่างๆ การปราบปรามคอมมิวนิสต์ ก่อการร้ายและการเคลื่อนไหวแบ่งแยกดินแดน ตลอดจนสงครามอินโดจีน กระทั่งส่งผลกระทบต่อการเมืองที่รัฐบาลบริหารงานบนสภาวะที่ไร้เสถียรภาพอย่างต่อเนื่อง
References
กองบรรณาธิการ. (2519 ข, มกราคม, 9-15). การชุมนุมประท้วงที่ปัตตานี. สยามจดหมายเหตุ.
กองบรรณาธิการ. (2519 ค, มกราคม, 16-22). เหตุการณ์ที่ปัตตานี. สยามจดหมายเหตุ.
กองบรรณาธิการ. (2519 ง, มกราคม, 23-29). ข้าราชการจังหวัดปัตตานีเคลื่อนไหว. สยามจดหมายเหตุ.
จันจิรา สมบัติพูนศิริ. (2559). “เขาสันติวิธีมา เราก็สันติวิธีกลับ”: การเมืองของปฏิสัมพันธ์สันติวิธีระหว่างผู้ชุมนุมกับเจ้าหน้าที่รัฐ ศึกษากรณีการประท้วง ณ มัสยิดกลาง จังหวัดปัตตานี วันที่ 31 พฤษภาคม ถึง 4 มิถุนายน 2550. ใน ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ (บ.ก.), พื้นที่สันติวิธี หนทางสังคมไทย ความรู้ ความลับ ความทรงจำ (น. 94)กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยและสำนักพิมพ์ของเรา.
เดลินิวส์. (2518, 26 ธันวาคม)
พิเชฐ แสงทอง. (2551). “ผจญภัยในแดนมหัศจรรย์: ภารกิจของความเป็นไทยในวรรณกรรมไทยว่าด้วยมลายูมุสลิม.” ใน วาทกรรมวรรณกรรม: เปิดกระบวนทัศน์ใหม่ในการศึกษาวรรณกรรมไทยร่วมสมัย. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
วาณิช สุนทรนนท์. (2554). ประท้วงปัตตานี: ความทรงจำที่เริ่มจะลางเลือน. กรุงเทพฯ: นกเช้าสำนักพิมพ์.
อารีเพ็ญ อุตรสินธุ์. (2558). กลุ่มสลาตันกลางกระแสประชาธิปไตยเบ่งบาน. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเพื่อการศึกษาพัฒนาเด็กและเยาวชน.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
บทความในวารสารรูสมิแลเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน ผู้ประสงค์จะนำข้อความใดๆ ไปเผยแพร่
ต้องได้รับอนุญาตจากผู้เขียนตามกฎหมายลิขสิทธิ์ และแจ้งให้ทางกองบรรณาธิการทราบ
กองบรรณาธิการขอสงวนลิขสิทธิ์ในการตัดทอน/ปรับแก้ถ้อยคำเพื่อความเหมาะสม