ศิลาจารึกสำโรง 3 หลัก 3 ภาษา ที่สามแยกเก้าเส้ง สงขลา

Authors

  • สมาน อู่งามสิน นักเขียนอิสระ

Keywords:

หลักศิลาจารึก, หลักศิลาจารึกสำโรง, สงขลา, เก้าเส้ง

Abstract

สงขลา เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน และเป็นเมืองหน้าด่านที่เป็นจุดบรรจบของสองวัฒนธรรม
หลัก พุทธ อิสลาม ซึ่งประกอบด้วยสามกลุ่มชาติพันธ์ุหลัก ไทย มลายู จีน ที่ต่างมีวิถีชีวิตและอัตลักษณ์ของ
ตนเอง แต่ก็ร่วมกันสร้างชาติและสังคมพหุวัฒนธรรมที่อารยะ มีหลักฐานโบราณคดีหลายอย่างที่ยังหลงเหลือ
อยู่เป็นเครื่องพิสูจน์ถึงสิ่งที่เคยเกิดขึ้นจริงในประวัติศาสตร์เมืองสงขลาจวบจนถึงทุกวันนี้

References

เกษม ท้วมประถม, สุภัทร สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง และประยูรศักดิ์ ชลายนเดชะ. (2530). ประวัติสกุลมุสลิม
‘สุนนี’ กับสายสัมพันธ์ราชินิกุลในราชวงศ์จักรี. นิตยสารศิลปวัฒนธรรม 8(7), 82-87.
พิริยะ ไกรฤกษ์. (2543). พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ สงขลา. กรุงเทพฯ: สมาพันธ์.
สุธิวงศ์ พงษ์ไพบูลย์. (2542). สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคใต้. กรุงเทพฯ: สยามเพรส แมเนจเม้นท์ .
สุภัทร สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง. (2530). ราชินิกูลรัชกาลที่ 3 กับสายสกุล ‘ณ พัทลุง’. นิตยสารศิลปวัฒนธรรม 8(7), 92-99.
เอนก นาวิกมูล. (2551). สมุดภาพสงขลา พ.ศ. 2551. สงขลา: เดือนตุลา.

Downloads

Published

2020-04-02

How to Cite

อู่งามสิน ส. (2020). ศิลาจารึกสำโรง 3 หลัก 3 ภาษา ที่สามแยกเก้าเส้ง สงขลา. RUSAMILAE JOURNAL, 41(1), 45–54. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/rusamelae/article/view/240130