สัญลักษณ์รัฐธรรมนูญที่ชายแดนใต้ การเมืองวัฒนธรรมของราษฎรในความเปลี่ยนแปลงหลัง 2475
Keywords:
การเมืองวัฒนธรรม, คณะราษฎร, รัฐธรรมนูญ, ชายแดนใต้Abstract
ในปี 2475 การเคลื่อนไหวของคณะราษฎร ได้นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชเป็นระบอบประชาธิปไตย การวางรากฐานทั้งในระดับการเมืองการปกครอง ตลอดจนการสร้างความเข้าใจร่วมกับประชาชนในสยามประเทศจึงเป็นภารกิจสำคัญในการให้สำนึกประชาธิปไตยเป็นที่รับรู้กว้างขวางออกไป บทความนี้มีจุดประสงค์สำคัญคือการพิจารณาถึงเครื่องมือวัฒนธรรมในการส่งสาส์นความเป็นประชาธิปไตยสู่ราษฎรระดับภูมิภาคโดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม อันเป็นผลผลิตจากประวิศาสตร์ของความเปลี่ยนแปลงจากราชรัฐบนคาบสมุทรมลายูสู่การมีสถานะเป็นหนึ่งในพื้นที่การปกครองระดับภูมิภาคในสยาม/ไทย
References
ชาตรี ประกิตนนทการ. (2546). จากสยามเก่า สู่ ไทยใหม่: ความหมายทางสังคมและการเมืองในงานสถาปัตยกรรม พ.ศ.2394-2500. กรุงเทพฯ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชีพธรรม คำวิเศษณ์. (2561). รำลึก วันรัฐธรรมนูญ 2561 อนุสาวรีย์รัฐธรรมนูญ ข้าง สถานีตำรวจโคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (วีดีโอ). เข้าถึงได้จาก www.youtube.com/watch?v=UIJUkqoPl9Q
ฉัตรบงกช ศรีวัฒนสาร. (2553). มโนทัศน์เกี่ยวกับรัชกาลที่ 7 เสด็จฯทอดพระเนตรสุริยุปราคาที่ปัตตานี (เว็บไซต์). เข้าถึงได้จาก kingprajadhipokstudy.blogspot.com/2010/06/7_09.html
ชูศักดิ์ วิทยาภัค, บรรณาธิการ. (2558). วัฒนธรรมคืออำนาจ: ปฏิบัติการแห่งอำนาจ ตัวตน และชนชั้นใหม่ในพื้นที่วัฒนธรรม. เชียงใหม่: วนิดาการพิมพ์
เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก. ม.ป.ป. บันทึกของนายวงศ์ ไชยสุวรรณ์ ตีพิมพ์เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2493 ใน ประวัติ ข้อมูลพื้นฐาน และรูปนายวงศ์ ไชสุวรรณ์. น.1-82 (เอกสาร). เข้าถึงได้จาก http://www.kolokcity.go.th/kolokdata/datagen.pdf
ประจักษ์ ก้องกีรติ. (2558). การเมืองวัฒนธรรมไทย: ว่าด้วยความทรงจำ/วาทกรรม/อำนาจ. นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน
ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์. เทศบาลกับแนวคิดเมืองของราษฎร หลังปฏิวัติสยาม 2475 ใน หน้าจั่ว ฉบับที่ 14 มกราคม-ธันวาคม 2560, หน้า 122-149
วันนี้ที่ชายแดนใต้. (2561). รัฐธรรมนูญจำลอง อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี (วีดีโอ). เข้าถึงได้จาก www.facebook.com/watch/?v=1683935081712986
ศรัญญู เทพสงเคราะห์. มองสำนึกพลเมืองยุคคณะราษฎรผ่านอนุสาวรีย์รัฐธรรมนูญในอีสาน ใน ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 39 ฉบับที่ 8 มิถุนายน 2561, หน้า 74-105.
ศราวุฒิ วิสาพรม. (2557). ประวัติศาสตร์สามัญชนในสังคมไทยสมัยแรกเริ่มรัฐประชาชาติ พ.ศ. 2475-2490. เชียงใหม่: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สุนทรธรรมภาณี, พระครู., เรียบเรียง. (2502). คำกลอนประวัติตำบลสุไหงโก-ลค. นราธิวาส: โรงพิมพ์นราธิวาส
เทศบาลนครยะลา. (ม.ป.ป). สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานของเทศบาลนครยะลา. น.1-31 (เอกสาร). เข้าถึงได้จาก www.yalacity.go.th/themes/default/general.pdf
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
บทความในวารสารรูสมิแลเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน ผู้ประสงค์จะนำข้อความใดๆ ไปเผยแพร่
ต้องได้รับอนุญาตจากผู้เขียนตามกฎหมายลิขสิทธิ์ และแจ้งให้ทางกองบรรณาธิการทราบ
กองบรรณาธิการขอสงวนลิขสิทธิ์ในการตัดทอน/ปรับแก้ถ้อยคำเพื่อความเหมาะสม