From Rubber to Medicine: Angels of the Community

Authors

  • Sitisayidah Saiwari
  • Aran Roka โรงพยาบาลทุ่งยางแดง ตำบลตะโละแมะนา อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี
  • Boontham Nithiuthai ข้าราชการบำนาญ
  • Sunida Arranuchit คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • Nawamon Chanklin คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Keywords:

นางฟ้าชุมชน, ยางพารา, ยารักษาโรค

Abstract

ต้นยางพาราเป็นไม้ยืนต้นที่มีถิ่นกำเนิดบริเวณ ลุ่มน้ำอเมซอน และมีประวัติการบันทึกถึงการค้นพบ การใช้ประโยชน์มาเป็นเวลานานกว่า 500 ปี (Stern, H.J. ,1967 ) พบว่าชาวอินเดียนแดงรู้จักการนำยาง ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตและกิจกรรมประจำวัน เช่นการ ทำรองเท้า การทำผ้ากันฝน และการทำฟุตบอลยาง พืชที่สามารถให้น้ำยาง (Latex) ได้มีหลายสายพันธุ์ แต่ยางพันธุ์ฮีเวียบราซิลเลซิส (Hevea brasiliensis) ถือเป็นพันธุ์ยางที่มีคุณภาพดีที่สุด ในสมัยเริ่มแรกใน แถบทวีปอเมริกาใต้ จึงมีการซื้อขายยางพันธุ์ดังกล่าว นี้กันมาก โดยเฉพาะที่เมืองท่ที่เป็นศูนย์กลางตลาด ซื้อขายยางในยุคนั้น คือ เมืองพารา บนฝั่งแม่น้ำอเม ชอน ประเทศบราชิล ซึ่งเป็นที่มาของชื่อ "ยางพารา" นั่นเอง ดังนั้นเมื่อกล่าวถึงยางที่ได้จากพืช หรือยาง ธรรมชาติ คนส่วนใหญ่มักนึกถึง "ยางพารา" ซึ่งเป็น ผลิตผลทางการเกษตรที่ทำรายได้หลักให้กับ ประเทศไทย และเป็นยางธรรมชาติเพียงชนิดเดียวที่ สามารถผลิตน้ำยางในปริมาณมากและสามารถตอบ สนองความต้องการใช้ยางในตลาดยางได้ในปัจจุบัน ยางพาราจึงกลายเป็นตัวแทนของยางธรรมชาติ และ เป็นที่ยอมรับและเข้าใจกันอย่างสากลกันในปัจจุบัน ทั่วโลกว่า เมื่อเรากล่าวถึง "ยางธรรมชาติ" นั่นหมาย

Downloads

Published

2024-04-30

How to Cite

Saiwari, S. ., Roka, A. ., Nithiuthai , B. ., Arranuchit, S. ., & Chanklin, N. . (2024). From Rubber to Medicine: Angels of the Community. RUSAMILAE JOURNAL, 45(1), 73–83. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/rusamelae/article/view/272914

Issue

Section

General Article