รูปแบบทางการตลาดที่เหมาะสมกับแหล่งท่องเที่ยวถนนคนเดินเชียงใหม่
Main Article Content
Abstract
60,001-90,000 บาท โดยให้ความสำคัญปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในการท่องเที่ยวถนนคนเดินของนักท่องเที่ยวที่มาท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงใหม่ในภาพรวมอยู่ในระดับค่อนข้างมาก โดยเรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านราคาด้านผลิตภัณฑ์ ด้านสถานที่และช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านส่งเสริมการตลาด ส่วนการประเมินสัมประสิทธิ์ระดับความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวในการพัฒนาและออกแบบผลิตภัณฑ์ของถนนคนเดินตามแบบคาโนโมเดลนั้น ควรจะให้ความสำคัญด้านผลิตภัณฑ์ในการพัฒนาและออกแบบส่วนประสมทางการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวถนนคนเดินเพื่อความยั่งยืนควรมุ่งการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ตามความต้องการของนักท่องเที่ยวตามแบบของคาโนโมเดลควรมุ่งเน้นผลิตภัณฑ์ ได้แก่
1) ต้องเป็นแหล่งท่องเที่ยวต้องมีความปลอดภัย 2) โปรแกรมท่องเที่ยวควรกำหนดไว้ล่วงหน้า 3) ราคาต้องเหมาะกับสินค้าและบริการ 4) การจัดกิจกรรมเที่ยวในเทศกาลต่าง ๆ เน้นที่วัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่น และ 5) สินค้าภายในถนนคนเดินควรจะเป็นสินค้าท้องถิ่น ซึ่งผลการทดสอบสมมติฐานพบว่าระหว่าง อายุ การศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยของนักท่องเที่ยวไม่มีแตกต่างกันต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. [ออนไลน์]. ได้จาก: http://www.thai.tourismthailand.org/home.
ชัชพล ทรงสุนทรวงศ์. (2547ข). สำนึกด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. [ออนไลน์]. ได้จาก: http://www.stou.ac.th/Tourism/Acheive/May/Topic2.html.
ประภาเพ็ญ สุวรรณ. (2536). ทัศนคติ : การเปลี่ยนแปลงและพฤติกรรมอนามัย. กรุงเทพ: ไทยวัฒนาพานิช.
ธัญกาญจน์ วัฒนานนท์. (2547). การประเมินผลโครงการถนนคนเดิน จังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. [ออนไลน์]. ได้จาก: http://www.thai.tourismthailand.org/home.
ชัชพล ทรงสุนทรวงศ์. (2547ข). สำนึกด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. [ออนไลน์]. ได้จาก: http://www.stou.ac.th/Tourism/Acheive/May/Topic2.html.
ประภาเพ็ญ สุวรรณ. (2536). ทัศนคติ : การเปลี่ยนแปลงและพฤติกรรมอนามัย. กรุงเทพ: ไทยวัฒนาพานิช.
ธัญกาญจน์ วัฒนานนท์. (2547). การประเมินผลโครงการถนนคนเดิน จังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
พจนา สวนศรี. (2546). คู่มือการจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน. กรุงเทพมหานคร:โครงการท่องเที่ยวเพื่อชีวิตและธรรมชาติ.
พระมหาสุทิตย์ อบอุ่น. (2550). การศึกษาศักยภาพของชุมชนท้องถิ่นในการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ศึกษาเฉพาะกรณี: เส้นทางสายลำน้ำกก. วิทยานิพนธ์สังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณี. (2547). ถนนคนเดินในเขตเมืองเชียงใหม่: รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
วัชรีวรรณ ศศิผลิน. (2549). การจัดกิจกรรมเพื่อการท่องเที่ยว: กรณีศึกษากิจกรรมถนนคนเดินในจังหวัดเชียงใหม่.
วิทยานิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ศูนย์สนเทศภาคเหนือ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2550). [ออนไลน์]. ได้จาก: http://library.cmu.ac.th/ntic/knowledge_show.php?docid=18.
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย. (2542). การดำเนินการเพื่อกำหนดนโยบายการท่องเที่ยวเพื่อการรักษาระบบนิเวศ. กรุงเทพมหานคร.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. (2555). [ออนไลน์]. ได้จาก: http://www.nesdb.go.th/Default.aspx?tabid=395.
สมัย อาภาภิรม และเยสนันท์ เชฏฐรัตน์. (2538). โลกสีเขียวจิตสำนักใหม่ของมนุษยชาติ. กรุงเทพ: บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิสซิ่ง จำกัด มหาชน.
อุษณา แจ้งเรืองทอง. (2553). ปัจจัยความสำเร็จของถนนคนเดินบริเวณราชดำเนิน จังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
อุมาพร ปัญญา. (2551). ทัศนคติของนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศที่มีต่อสินค้าของที่ระลึกบนถนนคนเดินถนนราชดำเนิน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
Kano. (1984). Attractive Quality and must be Quality. Hinshitsu 14(2)(February): 39-48.
Krech, D. Crutchfield, R.S.,Ballachey E.L. (1962). Individual in Society. Tokyo: McGrae-Hill Kogakusha Ltd.
McCarthy, E. J., & Perreault, W. D., Jr. (1996). Basic marketing: A global managerial approach (12th ed.). Chicago: Irwin.
Mowen, J. C. & Minor, M. (2001). Consumer Behavior. (5th ed.). New Jersey: Prentice-Hall.
Rokeach, Milton. 1970. Beliefs, Attitudes and Values. San Francisco: Jossey Basso, Inc.
Rosenberg, R.J. and Hovland,C.I. (1960). Attitude Organization and Change: And Analysis of Consistency Among Attitude Components. Wesport: Greenwood Press.
Sauerwein, E. (1997). The Kano Model: How to delight your customers. International Working Seminar on production Economics, Innsbruck/Igls/Igls/Austria, February 19-23 1996: 313-327.
Spencer, H. (1985). A renewed appreciation. London: Sage.
Triandis, Hary C. (1971). Attitude and Attitude Chang. New York: John Wiley and Sons.
Yamane Taro. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. 3rd ed. New York: Harper and Row.