การรับรู้ความยุติธรรม และรูปแบบการจัดการความขัดแย้งที่ส่งผลต่อ ผลการปฏิบัติงานในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทของผู้พิพากษาสมทบในศาลเยาวชน และครอบครัวในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล
Main Article Content
Abstract
การศึกษาวิจัยเรื่อง การรับรู้ความยุติธรรม และรูปแบบการจัดการความขัดแย้งที่ส่งผลต่อผลการปฏิบัติงานในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทของผู้พิพากษาสมทบในศาลเยาวชนและครอบครัวในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล มีวัตถุประสงค์คือ (1) เพื่อศึกษา
การรับรู้ความยุติธรรม และรูปแบบการจัดการความขัดแย้ง ที่ประกอบด้วยรูปแบบการบูรณาการ รูปแบบการครอบงำ รูปแบบการหลีกเลี่ยง รูปแบบการทำด้วยความเต็มใจ และรูปแบบการประนีประนอมที่มีอิทธิพลต่อความไว้เนื้อเชื่อใจต่อผู้พิพากษาสมทบ
ในศาลเยาวชนและครอบครัวในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล และ (2) เพือ่ ศึกษาการรับรคู้ วามยตุ ธิ รรม รปู แบบการจดั การความขัดแย้ง และความไว้เนื้อเชื่อใจต่อผู้พิพากษาสมทบที่มีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงานในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทของผู้พิพากษาสมทบในศาลเยาวชนและครอบครัวในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล
ผู้วิจัยทำการวิจัยแบบผสมวิธี การวิจัยเชิงคุณภาพเป็นการสัมภาษณ์เจาะลึก โดยใช้การลดทอนข้อมูล และการวิเคราะห์สรุปอุปนัย ส่วนการวิจัยเชิงปริมาณ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากคู่ความในศาลเยาวชนและครอบครัวในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล จำนวน 339 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่การหาค่าความถี่ การหาค่าร้อยละ การหาค่าเฉลี่ย การหาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และการวิเคราะห์
ถดถอยพหุผลการวิจัยพบว่า (1.1) การรับรู้ความยุติธรรมมีอิทธิพลทางบวกต่อความไว้เนื้อเชื่อใจต่อผู้พิพากษาสมทบ (1.2) การจัดการความขัดแย้งในรูปแบบการบูรณาการมีอิทธิพลทางบวกต่อความไว้เนื้อเชื่อใจต่อผู้พิพากษาสมทบ (1.3) การจัดการความขัดแย้งในรูปแบบการหลีกเลี่ยงมีอิทธิพลทางลบต่อความไว้เนื้อเชื่อใจต่อผู้พิพากษาสมทบ (1.4) การจัดการความขัดแย้งในรูปแบบการประนีประนอมมีอิทธิพลทางบวกต่อความไว้เนื้อเชื่อใจต่อผู้พิพากษาสมทบ (2.1) การรับรู้ความยุติธรรมมีอิทธิพลทางบวกต่อผลการปฏิบัติงานในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทของผู้พิพากษาสมทบ (2.2) การจัดการความขัดแย้งในรูปแบบการบูรณาการมีอิทธิพลทางบวกต่อผลการปฏิบัติงานในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทของผู้พิพากษาสมทบ (2.3) การจัดการความขัดแย้งในรูปแบบการหลีกเลี่ยงมีอิทธิพลทางลบต่อผลการปฏิบัติงานในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทของผู้พิพากษาสมทบ (2.4) การจัดการความขัดแย้งในรูปแบบการทำด้วยความเต็มใจมีอิทธิพลทางบวกต่อผลการปฏิบัติงานในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทของผู้พิพากษาสมทบ (2.5) การจัดการความขัดแย้งในรูปแบบการประนี ประนอมมีอิทธิพลทางบวกต่อผลการปฏิบัติงานในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทของผู้พิพากษาสมทบ (2.6) ความไว้เนื้อเชื่อใจต่อผู้พิพากษาสมทบมีอิทธิพลทางบวกต่อผลการปฏิบัติงานในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทของผู้พิพากษาสมทบ
การรับรู้ความยุติธรรม และรูปแบบการจัดการความขัดแย้ง ที่ประกอบด้วยรูปแบบการบูรณาการ รูปแบบการครอบงำ รูปแบบการหลีกเลี่ยง รูปแบบการทำด้วยความเต็มใจ และรูปแบบการประนีประนอมที่มีอิทธิพลต่อความไว้เนื้อเชื่อใจต่อผู้พิพากษาสมทบ
ในศาลเยาวชนและครอบครัวในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล และ (2) เพือ่ ศึกษาการรับรคู้ วามยตุ ธิ รรม รปู แบบการจดั การความขัดแย้ง และความไว้เนื้อเชื่อใจต่อผู้พิพากษาสมทบที่มีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงานในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทของผู้พิพากษาสมทบในศาลเยาวชนและครอบครัวในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล
ผู้วิจัยทำการวิจัยแบบผสมวิธี การวิจัยเชิงคุณภาพเป็นการสัมภาษณ์เจาะลึก โดยใช้การลดทอนข้อมูล และการวิเคราะห์สรุปอุปนัย ส่วนการวิจัยเชิงปริมาณ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากคู่ความในศาลเยาวชนและครอบครัวในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล จำนวน 339 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่การหาค่าความถี่ การหาค่าร้อยละ การหาค่าเฉลี่ย การหาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และการวิเคราะห์
ถดถอยพหุผลการวิจัยพบว่า (1.1) การรับรู้ความยุติธรรมมีอิทธิพลทางบวกต่อความไว้เนื้อเชื่อใจต่อผู้พิพากษาสมทบ (1.2) การจัดการความขัดแย้งในรูปแบบการบูรณาการมีอิทธิพลทางบวกต่อความไว้เนื้อเชื่อใจต่อผู้พิพากษาสมทบ (1.3) การจัดการความขัดแย้งในรูปแบบการหลีกเลี่ยงมีอิทธิพลทางลบต่อความไว้เนื้อเชื่อใจต่อผู้พิพากษาสมทบ (1.4) การจัดการความขัดแย้งในรูปแบบการประนีประนอมมีอิทธิพลทางบวกต่อความไว้เนื้อเชื่อใจต่อผู้พิพากษาสมทบ (2.1) การรับรู้ความยุติธรรมมีอิทธิพลทางบวกต่อผลการปฏิบัติงานในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทของผู้พิพากษาสมทบ (2.2) การจัดการความขัดแย้งในรูปแบบการบูรณาการมีอิทธิพลทางบวกต่อผลการปฏิบัติงานในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทของผู้พิพากษาสมทบ (2.3) การจัดการความขัดแย้งในรูปแบบการหลีกเลี่ยงมีอิทธิพลทางลบต่อผลการปฏิบัติงานในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทของผู้พิพากษาสมทบ (2.4) การจัดการความขัดแย้งในรูปแบบการทำด้วยความเต็มใจมีอิทธิพลทางบวกต่อผลการปฏิบัติงานในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทของผู้พิพากษาสมทบ (2.5) การจัดการความขัดแย้งในรูปแบบการประนี ประนอมมีอิทธิพลทางบวกต่อผลการปฏิบัติงานในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทของผู้พิพากษาสมทบ (2.6) ความไว้เนื้อเชื่อใจต่อผู้พิพากษาสมทบมีอิทธิพลทางบวกต่อผลการปฏิบัติงานในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทของผู้พิพากษาสมทบ
Article Details
Section
Research Articles