การพัฒนาระบบการประเมินการปฏิบัติงานสำหรับอาจารย์มหาวิทยาลัยเอกชนตามแนวคิดของ การประเมินแบบอิงมาตรฐานและการให้ผลตอบแทนตามสมรรถนะ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ เพื่อสร้างและพัฒนาระบบการประเมินการปฏิบัติงานแบบอิงมาตรฐานการปฏิบัติงานของอาจารย์มหาวิทยาลัยเอกชนและการให้ผลตอบแทนตามสมรรถนะ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ผลการออกแบบระบบการประเมินการปฏิบัติงานของอาจารย์มหาวิทยาลัยเอกชนตามแนวคิดของการประเมินแบบอิงมาตรฐานและการให้ผลตอบแทนตามสมรรถนะ ตามองค์ประกอบ 4 ด้าน คือ ด้านปัจจัยนำเข้า ประกอบด้วย วัตถุประสงค์ของการประเมิน องค์ประกอบเนื้องานที่มุ่งประเมิน มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมิน บุคลากรที่เกี่ยวข้อง และระยะเวลาในการประเมิน ด้านกระบวนการประเมิน ประกอบด้วย การเตรียมการประเมิน การดำเนินการประเมิน และการวิเคราะห์สรุปผลการประเมิน ด้านผลผลิต คือ ผลการปฏิบัติงานของอาจารย์รายบุคคล และด้านข้อมูลป้อนกลับ คือ ผลการปฏิบัติงานรายบุคคล โดยผลการตรวจสอบความเหมาะสมของมาตรฐานการประเมินในภาพรวมในทุกมาตรฐานการประเมินมีความเหมาะสมระดับมากที่สุด
Article Details
1. กองบรรณาธิการสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาและตัดสินการตีพิมพ์บทความในวารสาร
2. บทความทุกเรื่องจะได้รับการตรวจสอบทางวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ แต่ข้อความและเนื้อหาในบทความที่ตีพิมพ์เป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนแต่เพียงผู้เดียว มิใช่ความคิดเห็นและความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยศรีปทุม
3.การคัดลอกอ้างอิงต้องดำเนินการตามการปฏิบัติในหมู่นักวิชาการโดยทั่วไป และสอดคล้องกับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
References
วิทยา คู่วิรัตน์. (2538). การพัฒนาระบบประเมินผลการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนคาทอลิกอัครสังฆมณฑลกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพมหานคร: วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Anthony, William et al. (2002). Human Resource Management: A Strategic Approach.4th edition. Ohio: South-Western College.
Danielson, C. Enhancing Professional Practice: A Framework for Teaching. [online]. (2007). 2nd Ed. Alexandria, VA: Association for Supervision and Curriculum Development.
Dessler, Gary. (2000). Human Resource Management. 8th edition.London: Prentice-Hall.
Heneman, Milanowski & Kimball. (2007). Teacher Performance Pay: Synthesis of Plans, Research, and Guildlines for Practice. (CPRE Policy Brief RB-46). Philadelphia: Consortium for Policy Research in Education.
McClelland. Testing for Competence Rather Than for “Intelligence”. American Psychologist. (January 1973). 1 – 14 .
Mondy,R. Wayne, Noe,Robert M. and Premeaux,Shane R. (2002). Performance Appraisal. In Human Resource management. 8th edition. New Jeasey: Prentice Hall International.
Odden, Kelley, Heneman & Milanowski. (2001). Enhancing Teacher Quality through Knowledge and Skills-based Pay. (CPRE Policy Brief RB-46).
Philadelphia: Consortium for Policy Research in Education.
Spencer L.M. and Spencer S.M. (1993). Competence at Work: Models for Superior Performer. New York: Wiley.
Spencer. (1997). Competency Assessment Method. In Bassi, L.J.&Russ-Eft.(Ed). In Assessment, Development and Measurement. Washington, D.C.:ASTD.
Stufflebeam. Personnel Evaluation Systems Metaevaluation Checklist.