พฤติกรรมแบบความคิดก้าวหน้าของครู ในภาคตะวันออก : การวิเคราะห์ องค์ประกอบเชิงยืนยันพหุระดับ

ผู้แต่ง

  • ภัทราวดี มากมี วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา
  • วัฒนารี อัมมวรรธน์ คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล
  • ชามิภา ภาณุดุลกิตติ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • ณัฏฐพัชร์ ธรรมสิทธิเวช กระทรวงมหาดไทย

คำสำคัญ:

พฤติกรรมความคิดก้าวหน้าของครู, การวิเคราะห์พหุระดับ, ภาคตะวันออก

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพฤติกรรมแบบความคิดก้าวหน้าของครูในภาคตะวันออกและเพื่อตรวจ สอบความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดล ตัวแปรในโมเดลประกอบด้วย ตัวแปรแฝงภายนอก 1 ตัวแปรคือ พฤติกรรมแบบความคิดก้าวหน้า และตัวแปรแฝงภายใน 4 ตัวแปร ได้แก่ บุคลิกภาพเชิงรุก ความริเริ่มด้วย ตนเอง ขอบเขตการรับร้คู วามสามารถของตนเอง และความรับผิดชอบแก้ปัญหาด้วยตนเอง กล่มุ ตัวอย่างเป็น ครูท้องถิ่นในภาคตะวันออก 7 จังหวัด จำนวน 100 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลจำนวน 500 คน โดยทำการเลือกกลุ่ม ตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม และมีการวิเคราะห์ ข้อมูลโดยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันพหุระดับ ผลการวิจัยปรากฏว่า การพัฒนาโมเดลการวัดพหุระดับพฤติกรรมแบบความคิดก้าวหน้าของครูในภาค ตะวันออกประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ได้แก่ บุคลิกภาพเชิงรุก ความริเริ่มด้วยตนเอง ขอบเขตการรับรู้ความ สามารถของตนเอง และความรบั ผดิ ชอบแกป้ ญั หาดว้ ยตนเอง โดยโมเดลองคป์ ระกอบพฤตกิ รรมแบบความคดิ ก้าวหน้าพหุระดับโรงเรียน มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ พิจารณาจากค่าสถิติไค-สแควร์ ( ) เท่ากับ 5.586 ค่าองศาอิสระ (df) เท่ากับ 4 ค่าความน่าจะเป็น (p) เท่ากับ 0.232 CFI เท่ากับ 0.997 TLI เท่ากับ 0.990 RMSEA เท่ากับ 0.028 SRMRw เท่ากับ 0.002 และ SRMRb เท่ากับ 0.258 ส่วนโมเดลการวัดพหุระดับพฤติกรรม แบบความคิดก้าวหน้า ระดับบุคคลปรากฏว่า ตัวแปรที่มีน้ำหนักความสำคัญสูงที่สุด คือความริเริ่มด้วยตนเอง (PIw ; gif.latex?\beta = 0.840) รองลงมาคือ บุคลิกภาพเชิงรุก (PPw ; gif.latex?\beta = 0.700) ส่วนตัวแปรที่มีน้ำหนักความสำคัญน้อย ที่สุดคือ ความรับผิดชอบแก้ปัญหาด้วยตนเอง (TCw ; gif.latex?\beta = 0.353) สำหรับโมเดลการวัดพหุระดับพฤติกรรม แบบความคิดก้าวหน้า ระดับโรงเรียนปรากฏว่า ตัวแปรที่มีน้ำหนักความสำคัญสูงที่สุด คือบุคลิกภาพเชิงรุก (PPb ; gif.latex?\beta = 0.944) รองลงมาคือ ความริเริ่มด้วยตนเอง (PIb ; gif.latex?\beta =0.915) ส่วนตัวแปรที่มีน้ำหนักความสำคัญ น้อยที่สุดคือ ขอบเขตการรับรู้ความสามารถของตนเอง (RSb ; gif.latex?\beta = 0.569)

References

Bakker, A. B., Tims, M., & Derks, D. (2012). Proactive personality and job performance: The role of job crafting and work engagement. Human relations, 65(10), 1359-1378.

Covey, S.R. (1989). The 7 Habits of Highly Effective People. New York: Simon & Schuster.

--------. (2004). The Seven Habits of Highly Effective People: Restoring the Character Ethic: Free Press, a division of Simon and Schuster.

Crant, J. M. (2000). Proactive behavior in organizations. Journal of management, 26(3), 435-462.

Frese, M., & Fay, D. (2001). Personal initiative: An active performance concept for work in the 21st century. Research in organizational behavior, 23, 133-188.

Hooper, D., Coughlan, J., & Mullen, M. R. (2008). Structural equation modelling: Guidelines for determining model fit. Journal of Business Research Methods.

Jaroenruen C., Makmee P., and Kornpetpanee S. (2013). Proactive behavior of sub-district municipality officers in Chonburi: A confirmatory factor analysis. Research Methodology & Cognitive Science, 11(1), 56-66. (in Thai)

Makmee, P. (2016). Development of a Model of Organizational Effectiveness Measurement for Universities in ASEAN: Multilevel Structural Equation Model Analysis. Journal of the Researcher Association, 21(1), 34-48. (in Thai)

Morrison, E. W., & Phelps, C. C. (1999). Taking charge at work: Extra role efforts to initiate workplace change. Academy of Management Journal, 403-419.

Muthén L.K., & Muthén, B.O. (1998-2012, 2015). Mplus user’s guide (7th ed.). Los Angeles, CA: Muthén & Muthén

Ohly, S., & Fritz, C. (2007). Challenging the status quo: What motivates proative behaviour?. Journal of Occupational and Organizational Psychology, 80(4), 623-629.

P21. (2017). Framework for 21st Century Learning. Retrieved from http://www.p21.org/about-us/p21-framework

Pajares, F., & Miller, M. D. (1994). Role of self-efficacy and self-concept beliefs in mathematical problem solving: A path analysis. Journal of Educational Psychology, 86(2), 193.

Paramee N. (2008). The relationship between selected factors, perceived self-efficacy and postpartum self-care behaviors in adolescent mothers at home (Master Degee Thesis). Khon Kaen University, KhonKaen. (in Thai)

Parker, S. K., Williams, H. M., & Turner, N. (2006). Modeling the antecedents of proactive behavior at work. Journal of applied psychology, 91(3), 636.

Raktham A. (1981). Thai government officers’ behavior. Retrieved on 20 July 2015, form https://www.learners.in.th/posts/387212. (in Thai)

Seibert, S. E., Kraimer, M. L., & Crant, J. M. (2001). What do proactive people do? A longitudinal model linking proactive personality and career success. Personnel Psychology, 54(4), 845-874.

Snijders, T. A. B., & Bosker, R. J. (1999). Multilevel analysis: An introduction to basic and advanced multilevel modeling (1st ed.). London, England: Sage.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2017-12-29