แนวทางการเรียนรู้อีเลิร์นนิง ภายใต้สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ผู้แต่ง

  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สายฝน เสกขุนทด สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

คำสำคัญ:

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019, อีเลิร์นนิง, การเรียนออนไลน์

บทคัดย่อ

สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทำให้ระบบการศึกษาของประเทศไทยและทั้งโลกกำลังเปลี่ยนแปลงไปตามการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้การเรียนการสอนเกิดโดยไม่จำกัดเวลาและสถานที่ ผู้เรียนสามารถเรียนได้ ทุกสถานที่ทุกเวลาที่ต้องการ  โดยการเรียนออนไลน์ หรือการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (อีเลิร์นนิง) การเรียนผ่านแอปพลิเคชันออนไลน์ต่างๆ อาทิ Zoom Google meet Microsoft team และ LINE เป็นต้น ซึ่งผู้สอนนำเสนอเนื้อหาทางคอมพิวเตอร์ในรูปของสื่อมัลติมีเดีย ได้แก่ ข้อความอิเล็กทรอนิกส์ ภาพนิ่ง กราฟิก ภาพเคลื่อนไหว เสียงประกอบวีดิทัศน์ เป็นต้น องค์ประกอบของการเรียนรู้อีเลิร์นนิง ได้แก่ ผู้สอน ผู้เรียน เนื้อหาบทเรียน ระบบบริหารการเรียน ระบบการติดต่อสื่อสาร การวัดและการประเมินผลการเรียน ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ข้อดีของการเรียนรู้อีเลิร์นนิง ได้แก่ นำเสนอบทเรียนโดยใช้เทคนิคต่างๆ เช่น ภาพนิ่ง กราฟิกภาพเคลื่อนไหว เสียงประกอบวีดิทัศน์ ไฟล์วีดิทัศน์ช่วยให้ผู้เรียนรับรู้เข้าใจได้ดีกว่าข้อความหรือตัวหนังสือ ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามที่ตนต้องการ ตามความสามารถในการรับรู้ของแต่ละคน แนวทางการเรียนรู้อีเลิร์นนิงให้ประสบความสำเร็จนั้นผู้เรียนควรดูแลสุขภาพกายและจิตใจ การใช้เวลาอย่างมีประสิทธิภาพและลดสิ่งรบกวน หรือเรียกว่า การบริหารเวลา การสร้างปฏิสัมพันธ์กับสังคมออนไลน์ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ เช่น การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ การเรียนการสอนกลุ่มเพื่อนช่วยเหลือเพื่อนเป็นรายบุคคล การจัดการเรียนรู้ผสมผสานความร่วมมือหลายฝ่าย

References

คณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2548). ประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง แนวปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การขอเปิดและดำเนินการหลักสูตรระดับปริญญาในระบบการศึกษาทางไกล พ.ศ.2548. สืบค้นวันที่ 15 สิงหาคม 2564, จาก www.mua.go.th/users/he-commission/

doc/law/ministry law/1-15 manage distance programe 2548n.pdf

ใจทิพย์ ณ สงขลา. (2550). E-Instructional Design วิธีวิทยาการออกแบบการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์. กรุงเทพฯ: ศูนย์ตำราและเอกสารทางวิชาการ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ฐาปนีย์ ธรรมเมธา. (2557). อีเลิร์นนิง: จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย, สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.

วิทยา วาโย, อภิรดา เจริญนุกูล, ฉัตรสุดา กานกายันต์ และ จรรยา คนใหญ่. (2563, พฤษภาคม-สิงหาคม). การเรียนการสอนแบบออนไลน์ภายใต้สถานการณ์

แพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 : แนวคิดการประยุกต์ใช้จัดการเรียนการสอน. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9. 14(34). หน้า 287-290.

สายฝน เสกขุนทด. (2559). เอกสารคำสอนรายวิชา คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา. ฉะเชิงเทรา: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.

สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. (2564). ประกาศกระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เรื่อง มาตรการและ การเฝ้าระวังการระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (ฉบับที่ 15). สืบค้นวันที่ 1 สิงหาคม 2564, จาก https://www.mhesi.go.th/images/Pusit2021/pdfs/15-AnnCovid.pdf

สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ, (2564). ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรการป้องกันและควบคุมสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของกระทรวงศึกษาธิการ. สืบค้นวันที่ 1 สิงหาคม 2564, จาก https://moe360.blog/2021/04/13/covid-measures

สิญาธร บุญยธโรกุล. (2563). โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กับการทำลายเชื้อ. ศูนย์การศึกษาต่อเนื่องทางเภสัชศาสตร์ สภาเภสัชกรรมกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข.

สุรัยยา หมานมานะ, โสภณ เอี่ยมศิริถาวร และสุมนมาลย์ อุทยมกุล. (2563, พฤษภาคม-สิงหาคม).โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19).

วารสารสถาบันบำราศนราดูร. 14(2), หน้า 132.

โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. (2551). วิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ (ฉบับปรับปรุง).

กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

Donna J. Abernathy. (2020). Online learning: The Advantages and Disadvantages of E-Learning. [online]. Retrieved December 14,2021. From:

https://talentgarden.org/en/digital-transformation/online-learning-the-advantages-and-disadvantages-of-e-learning/.

Dron, Jon. (2007). Control and constraint in e-Learning: choosing when to choose. Hershey, PA: Idea Group Pub.

Holmes, Bryn and Gardner, John. (2006). E-Learning: concepts and practice. London: Sage.

Kelsey Miller. (2019). The Benefits of Online Learning:7 Advantages of Online Degrees. [online].Retrieved December 14, 2021. From:https://www.northeastern.edu/graduate/blog/benefits-of-online-learning/

Kearsley, G. (2000). Online education: Learning and teaching in cyberspace.Canada: Nelson Thomson Learning.

Matt Comerchero. (2006). E-Learning Concepts and Techniques. USA: Institute for Interactive Technology. Bloomsburg University of Pennsylvania.

Valentina Arkorful and Nelly Abaidoo. (2014, December).The role of e-Learning, the advantages and disadvantages of its adoption in Higher Education. International Journal of Education And Research. 2(12), pp. 397-410

เผยแพร่แล้ว

2021-12-30