แนวทางการพัฒนาการจัดการศึกษาตามแนวคิดของพหุวัฒนธรรมศึกษา
คำสำคัญ:
การจัดการศึกษา, พหุวัฒนธรรมศึกษาบทคัดย่อ
การพัฒนาการจัดการศึกษาตามแนวคิดของพหุวัฒนธรรมเป็นการจัดการศึกษาให้มีรูปแบบที่เหมาะสมและสอดคล้องกับบริบทของผู้เรียนที่มีความแตกต่างทางวัฒนธรรม ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาตามศักยภาพของตนได้อย่างสูงสุด ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ มีความเข้าใจในวัฒนธรรมของตนเองและผู้อื่น ยอมรับความแตกต่างทางวัฒนธรรม และเป็นพลเมืองที่มีความพร้อมในการทำงานและดำรงชีวิตอยู่ในสังคมที่มีความหลากหลายวัฒนธรรมได้อย่างมีคุณภาพ ซึ่งเป็นเรื่องที่สถานศึกษาต้องหาวิธีการในการจัดการเรียนการสอนที่ทำให้ผู้เรียนได้รับประโยชน์และตอบโจทย์ของสังคมอย่างแท้จริง พร้อมทั้งโจทย์ใหม่ของการศึกษาไทยเป็นการศึกษาที่ไม่มุ่งเน้นเพียงด้านวิชาการอย่างเดียว แต่จะเน้นทั้งวิชาชีวิต วิชาชีพ ต้องพร้อมเข้าสู่โลกของการทำงานที่มีวัฒนธรมมที่หลากหลาย
บทความนี้นำเสนอเกี่ยวกับการจัดการศึกษาและแนวทางในการพัฒนาแนวคิดของพหุวัฒนธรรมศึกษา ประกอบด้วย ความหมาย ความสำคัญ เป้าหมายและแนวทางในการปฏิบัติตามแนวคิดของพหุวัฒนธรรมศึกษา องค์ประกอบและโครงสร้างของพหุวัฒนธรรมศึกษา การพัฒนาการจัดการศึกษาตามแนวคิดของพหุวัฒนธรรมศึกษา และแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในห้องเรียนพหุวัฒนธรรม
References
ไข่มุก อุทยาวลี. (2552). วิเคราะห์ปัญหาการจัดการศึกษาของรัฐที่มีต่อการบูรณาการทางสังคม และวัฒนธรรมในจังหวัดชายแดนภาคใต้พ.ศ.2460-2547. วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 5(1).
ชูพินิจ เกษมณี. (2545). การบูรณาการเรียนรู้วัฒนธรรมด้านวิถีชีวิตของชนต่างวัฒนธรรม/ชนกลุ่มน้อยกับการศึกษา. รายงานวิจัยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี.
ฐิติมดี อาพัทธนานนท์. (2551). “พหุวัฒนธรรมศึกษาในมุมมองของนักวิชาการชาวอเมริกันและข้อคิดต่อสังคมไทย” วารสารครุศาสตร์. 36, 128 - 134.
รสสุคนธ์ เนาวบุตร. (2557). แนวทางการจัดการศึกษาเรียนร่วมพหุวัฒนธรรม: กรณีศึกษาชุมชนบ้านป่าละอู อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. วิทยานิพนธ์การศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2549). สารานุกรมไทย เล่ม 26. กรุงเทพมหานคร: บริษัทด่านสุทธาการพิมพ์.
วุฒิศักดิ์ โภชนุกูล. (2556). โครงสร้างทางสังคมตามแนวทางพหุวัฒนธรรม. สืบค้นเมื่อ 14 มิถุนายน 2556. จาก http://www.pochanukul.com/?p=126
บัญญัติ ยงย่วน. (2550). การใช้กิจกรรมศิลปะเพื่อส่งเสริมการยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรมในสังคมพหุวัฒนธรรม. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ปัตตานี. 18, 1-14.
เอกรินทร์ สังข์ทอง (2555). ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ในสังคมพหุวัฒนธรรม: การทบทวนแนวคิดทฤษฎีและการปฏิบัติ. วารสารคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. 20(1).
อามัดไญนี ดาโอ๊ะ (2551). การสอนพหุวัฒนธรรมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้จำเป็นจริงหรือ. สืบค้นเมื่อ วันที่ 20 สิงหาคม 2563 สืบค้นจาก www.saengtham.com/ collum5.pdf
Banks, J.A. (1994). An Introduction to Multicultural Education. Boston: Allyn and Bacon.
Bainbridge, Joyce M., Pantaleo, Sylvia, and Ellis, Monica. (1999). Multicultural picture books. Perspectives from Canada. The Social Studies. July-August: 183-188.
Bennett. (2007). Comprehensive Multicultural Education: Theory and Practice. Boston: Pearson Education.
Choi, K. Y. (2000). Activity plans of group games for social and emotional development of kindergarten children in Korea. Paper Presented at the Association for Childhood Education International ๒๐๐๐ Annual Conference, Baltimore, Maryland.
D’Angelo, Andrea M. and Dixey, Brenda P.(2001). Using multicultural resources for teachers to combat racial prejudice in the classroom. Early Childhood Education Journal 29 (2), 83-87.
Grant, Carl A. and Ladson – Billing, Gloria. (Eds). (1997). Dictionary of Multicultural Education. Phoenix, Arizona: Oryx Press.
Huber. (2000). Promoting multicultural awareness through dramatic play centers. Early Childhood Education Journal, 23(4), 235-236.
Jenks, C., Lee, J. O. & Kanpol, B. (2001). Approaches to multicultural education in preservice teacher education: Philosophical frameworks and models for teaching. The urbanreview, 33(2)
National Council for the Accreditation of Teacher Education (NCATE). (2002). Professional standards for the accreditation of schools, colleges, and departments of education. Washington, DC: Author.
Mesrobian, Joyce. (1992). Multicultural Books. Books for Children. Fall, 33-35.
Mitchell, M. Bruce.and Salsbury, E. Robert. (1999). Encyclopedia of multicultural education. British: Greenwood.
Moradi, B. (2004). Teaching about diversities: The shadow/role-play exercise. Teaching of Psychology, 31(3), 188-191.
Reisberg. (2008). Social/ecological caring with multicultural picture books: Placing pleasure in art education. Studies in Education. 49(3), 251-267
Smolen, Lynn A., Collins, Linda J., and Still, Kristine L. (2009). Enhancing cultural understanding and respect with multicultural text sets in the k-8 classroom. Ohio Journal of English Language Arts. 48(2), 18-29.
Tileston. (2004). What Every Teacher Should Know About Diverse Learners. California: Corwin Press.
Wan. (2006). Teaching diversity and tolerance in the classroom: A thematic storybook approach. Education. 127 (1), 140-145.
Wilson, Joseph E. (2006). Investigating the Influence of Anti-racist Education in Achieving Prejudice Reduction Among Secondary Education Students. From http://proquest.umi.com. Accessed