หลักสูตรฝึกอบรม การรับรู้ความสามารถของตนเอง และแรงจูงใจที่มีผลต่อสมรรถนะการปฏิบัติงานของผู้รับการฝึกอบรมในสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 10 ลำปาง

ผู้แต่ง

  • โชษิตา ไพโรจน์ สาขาวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
  • ธนกร สิริสุคันธา

DOI:

https://doi.org/10.14456/mjba.2021.2

คำสำคัญ:

การรับรู้ความสามารถของตนเอง, แรงจูงใจ, สมรรถนะการปฏิบัติงาน, หลักสูตรฝึกอบรม

บทคัดย่อ

       การค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นหลักสูตรฝึกอบรม การรับรู้ความสามารถ ของตนเอง แรงจูงใจและสมรรถนะการปฏิบัติงานของผู้รับการฝึกอบรม 2) เพื่อศึกษาปัจจัยด้านหลักสูตรฝึกอบรม การรับรู้ความสามารถของตนเองและแรงจูงใจที่มีผลต่อสมรรถนะการปฏิบัติงานของผู้รับการฝึกอบรม กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรยกระดับฝีมือแรงงานในสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 10 ลำปาง จำนวน 335 คน โดยสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงเครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมานวิเคราะห์สหสัมพันธ์ถดถอยพหุคูณแบบ Enter

       ผลการศึกษาพบว่า 1) ระดับความคิดเห็นภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ ด้านหลักสูตรฝึกอบรม (gif.latex?\fn_cm&space;\bar{x} = 4.46) ด้านการรับรู้ความสามารถของตนเอง (gif.latex?\fn_cm&space;\bar{x} = 4.37) ด้านสมรรถนะการปฏิบัติงาน (gif.latex?\fn_cm&space;\bar{x} = 4.31) และด้านแรงจูงใจ (gif.latex?\fn_cm&space;\bar{x} = 4.24) ตามลำดับ 2) ผลการวิเคราะห์ สหสัมพันธ์ถดถอยพหุคุณแบบ Enter พบว่า หลักสูตรฝึกอบรม การรับรู้ความสามารถของตนเองและแรงจูงใจมีผลต่อสมรรถนะการปฏิบัติงานของผู้รับการฝึกอบรมหลักสูตรยกระดับฝีมือแรงงานในสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 10 ลำปาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01

  

References

กนกอร ปราชญ์นคร. (2550). การพัฒนาหลักสูตรอบรมเสริมสร้างสมรรถนะข้าราชการ ประจำศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เอาชนะยาเสพติดจังหวัด. [ปริญญานิพนธ์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.]

กิติชัย แสนสุวรรณ. (2560). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมสมรรถนะการวิจัยของครูพลศึกษา ระดับมัธยมศึกษา จังหวัดมหาสารคาม. [วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.]

กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน. (2562, ตุลาคม 1). ศูนย์ข้อมูลแผนปฏิบัติการฝึกอบรมฝีมือแรงงานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 10 ลำปาง. http://datacenter.dad.go.th/

ฆนัท ธาตุทอง. (2550). เทคนิคการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.

ชนาธิป เอกศิริ และธรรมวิมล สุขเสริม. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงานของพนักงานธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร : กรณีศึกษา สำนักงาน ธ.ก.ส.จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย พิชญทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. 10(1), 1-8.

ชูชัย สมิทธิไกร. (2556). การฝึกอบรมบุคลากรในองค์การ. (พิมพ์ครั้งที่ 8). สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณัฏฐ์กฤตา อภิโชติภพนิพิฐ. (2551). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตในการทำงานกับแรงจูงใจในการทำงานและผลการปฏิบัติงานของพนักงาน: ศึกษาเฉพาะกรณีพนักงานของบริษัทไทยตาบูชิ อิเล็คทริค จำกัด. [วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.]

ธิดาภรณ์ ละม้ายศรี. (2561). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการปฏิบัติงานของ เจ้าหน้าที่ธุรการโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ. [วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.]

บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 8). สุวีริยาสาส์น.

ปิยะดา พูลทาจักร. (2549). การพัฒนาหลักสูตรและเทคนิคการฝึกอบรม. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

รัชฎา ณ น่าน. (2550). สมรรถนะหลักของปลัดองค์กรบริหารส่วนตำบลในจังหวัดน่าน. [วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.]

ยาใจ ธรรมพิทักษ์. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาสมรรถนะของพนักงานโรงแรมในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. [วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.]

วิชัย วงษ์ใหญ่. (2551). Benmar king and Competency. เอกสารอัดสำเนา. มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล. สุวีริยาสาส์น.

วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล. (2554). จากหลักสูตรแกนกลางสู่หลักสูตรสถานศึกษา: กระบวนทัศน์ใหม่การพัฒนา. จรัญสนิทวงศ์การพิมพ์.

วรารักษ์ ลีเลิศพันธ์. (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานบริษัท เนชั่น บรอด แคสติ้ง คอร์ปอเรชั่น จำกัด มหาชน. [วิทยานิพนธ์ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเนชั่น.]

ศิรินันท์ กิตติสุขสถิต. (2555). คู่มือการวัดความสุขด้วยตนเอง. สถาบันวิจัยประชากรและสังคมมหาวิทยาลัยมหิดล.

ศุรินภา ทุงจันทร์. (2561). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะการปฏิบัติงานของบุคลากรสายสนับสนุนมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. [วิทยานิพนธ์ รัฐประศาสนศาสตร์บัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.]

สมชาย สังข์สี. (2550). หลักสูตรฝึกอบรมการพัฒนามาตรฐานการศึกษาด้านผู้เรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. [ปริญญานิพนธ์. การศึกษาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.]

อรวรรนี ไชยปัญหา. (2556). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำทีมของผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็ก. [วิทยานิพนธ์ ปร.ด., มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.]

อนุรักษ์ กระต่ายทอง. (2561). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะของผู้ตรวจสอบภายในบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกลุ่มธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์. [การค้นคว้าอิสระ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.]

อุมาพร ตรังคสมบัติ. (2543). EVREST พาลูกค้นหาความนับถือตนเอง. ซันต้าการพิมพ์.

Armstrong, David, G. (2003). Curriculum today. Merrill Prentice Hall.

Bandura, A. (1986). Social Foundations Thought and Action: A Social Cognitive Theory. Prentice Hall.

Bandura, A. (1978). Reflections of self-efficacy. In S. R. (Eds). Advances in behavior research and therapy.

Frederick, Herzberg. (1959). The Motivation of work. John Wiley & Sons.

Hjelle, L. A., & Ziegler, D. J. (1992). Personality theories: Basic assumptions, research, and applications (3rd ed.). Mcgraw-Hill Book Company.

Lee, F., Lee, C., & Lee, A. (2000). Marketing Research. John Wiley and Son.

Maslow, Abraham M. (1954). Motivation and Personality. Harper and Row.

Nunnally, J. C. (1978). Psychometric theory (2nd ed.). McGraw-Hill.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-26

How to Cite

ไพโรจน์ โ., & สิริสุคันธา ธ. (2021). หลักสูตรฝึกอบรม การรับรู้ความสามารถของตนเอง และแรงจูงใจที่มีผลต่อสมรรถนะการปฏิบัติงานของผู้รับการฝึกอบรมในสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 10 ลำปาง. Maejo Business Review, 3(1), 17–40. https://doi.org/10.14456/mjba.2021.2