การศึกษาส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อความพึงพอใจต่อการซื้ออาหารทะเลแห้ง ของผู้บริโภคในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • อรอนงค์ อำภา วิทยาลัยการจัดการเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา
  • ชมพูนุช โสมาลีย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง
  • ชุตินุช สุจริต คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง
  • นัฎฐา คเชนทร์ภักดี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง

DOI:

https://doi.org/10.14456/mbr.2024.2

คำสำคัญ:

ความพึงพอใจ, รูปแบบช่องทางการจัดจำหน่าย, ส่วนประสมทางการตลาด

บทคัดย่อ

งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อความพึงพอใจต่อการซื้ออาหารทะเลแห้งของผู้บริโภคในประเทศไทย เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ การเก็บรวบรวมข้อมูลผ่านแบบสอบถามออนไลน์ ใช้การสุ่มตัวอย่างตามความสะดวกจากผู้บริโภคชาวไทยที่เคยซื้ออาหารทะเลแห้ง ที่มีอายุตั้งแต่ 16 ปี ขึ้นไป ผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 366 ราย การวิเคราะห์ส่วนประสมทางการตลาด โดยเลือกใช้การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ในการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อหาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของผู้บริโภคที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า ส่วนประสมทางการตลาด ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจำหน่ายอาหารทะเลแห้งที่จัดจำหน่ายในงานแสดงสินค้าโอทอป ด้านช่องทางการจัดจำหน่ายอาหารทะเลแห้งของร้านค้าปลีกมีการจำหน่ายทางออนไลน์และมีหน้าร้าน ด้านช่องทางการจัดจำหน่ายอาหารทะเลแห้งของผู้ขายแบบออนไลน์อย่างเดียวและไม่มีหน้าร้าน และด้านการส่งเสริมการตลาดมีผลต่อความพึงพอใจต่อการซื้ออาหารทะเลแห้งของผู้บริโภคในประเทศไทย ในขณะเดียวกันด้านผลิตภัณฑ์ ด้านช่องทางการจัดจำหน่ายอาหารทะเลแห้งที่ร้านค้าปลีกไม่มีผลต่อความพึงพอใจต่อการซื้ออาหารทะเลแห้งของผู้บริโภคในประเทศไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ

References

กรชิญา ภู่วิจิตรวราภรณ์. (2559). ส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อผู้ประกอบการร้านอาหารในจังหวัดเชียงใหม่ในการตัดสินใจซื้ออาหารทะเลแช่แข็ง. [ปริญญานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

กรมประมง. (2563). ความปลอดภัยในการทำอาหารทะเลเดลิเวอรี่. กรมประมง. https://www4.fisheries.go.th/dof/news_local/1385/81151

กุลยา อุปพงษ์, สรณ โภชนจันทร์ และศิริกาญจน์ ธรรมยัติวงศ์. (2565). อิทธิพลของเครื่องมือสื่อสารการตลาดดิจิทัลในการสร้างความพึงพอใจของลูกค้า. วารสารบริหารธุรกิจ นิด้า, 30, 42-68.

ชูศักดิ์ จรูญสวัสดิ์, (2551). การวิเคราะห์ข้อมูลและการใช้สถิติในงานวิจัย. ส. เสริมมิตรการพิมพ์.

ชัชราวรรณ มีทรัพย์ทอง, เกษม พลายแก้ว, ลั่นทม จอนจวบทรง และนันทวุฒิ ครุธา. (2562). การพัฒนาช่องทางการจัดจำหน่ายปลาสลิดบางบ่อผ่านเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่ต่าง ๆ ของประเทศไทย. วารสารธุรกิจปริทัศน์. 12(2). 127-146.

ชัชวาล เรืองประพันธ์. (2539). สถิติพื้นฐาน. โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา.

ชัยวัฒน์ สาวเจริญสุข. (2562). แนวโน้มธุรกิจอุตสาหกรรม ปี 2562-2564: อุตสาหกรรมอาหารทะเลแปรรูป. https://www.krungsri.com/th/research/industry/industry-outlook/food-beverage/processed-seafood/io/io-frocessed-seafood-20

ชมพูนุท นรินทรางกูล ณ อยุธยา และ ศศินิภา ศรีกัลยานิวาท. (2563). พฤติกรรมการซื้อและปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ไรซ์เบอร์รี่บราวนี่อบกรอบผสมอัลมอนด์ของ ผู้บริโภคในจังหวัดพิษณุโลก. วารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2(1), 38-50.

ชวลิต โรจนประภายนต์ และ ธีระศักดิ์ เปี่ยมสุภัคพงศ์. (2561). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในการเลือกซื้ออาหารทะเล ของผู้บริโภคในตลาดมหาชัย จังหวัดสมุทรสาคร. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธนบุรี, 12(27), 134-144.

ฐิติวินท์ เกียรติ์เมธา, กาญจนา พันธุ์เอี่ยม, ชัชวาล แสงทองล้วน และ เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์. (2563). กลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อส้มโอทับทิมสยาม (ตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์). วารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์, 13(3), 602-614.

ณัฐสุดา ชูศรี, ธนภรณ์ พึ่งบุญไพศาล, และ เมษ์ธาวิน พลโยธี. (2565). แนวทางการพัฒนากลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาดสำหรับสินค้าของฝากประเภทปลาส้มเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนไชยบุรี อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม.วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, 17(62), 43-51.

ทิฆัมพร เพทราเวช. (2566). แนวทางการพัฒนาทักษะทางการตลาดและการจัดการช่องทางการจัดจำหน่าย สินค้าชุมชนในจังหวัดศรีสะเกษเพื่อยกระดับความสามารถทางการแข่งขันในยุคปัจจุบัน. มนุษยสังคมสาร (มสส.) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 21(1), 23-45.

ทิวาพร จันทร์แก้ว. (2561). ภูมิปัญญาด้านการถนอมอาหารของคนลุ่มทะเลสาบสงขลา. ในการประชุมวิชาการด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 1 “มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์: พลังปัญญาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”. (น.309-317). มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.

นภัสวรรณ คุ้มครอง, ภิรายุ แสนบุดดา และ อมรรัตน์ หมื่นจิตน้อย. (2566). การพัฒนาช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้ากรณีศึกษาวิสาหกิจชุมชนปลาร้าหลนนิคมสงเคราะห์จังหวัดอุดรธานี. วารสารรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 6(1), 180-188.

นิมิตร ไชยวงศ์. (2559). อิทธิพลของส่วนประสมทางการตลาดและภาพลักษณ์ตราสินค้าที่มีต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อรถยนต์กระบะของผู้บริโภคจังหวัดลำปาง. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 5(2), 95-115.

ปิยะวรรณ โตเลี้ยง, รุ่งโรจน์ สงสระบุญ, พิจิตร เอี่ยมโสภณา และจิตระวี ทองเถา. (2566). ลักษณะประชากรศาสตร์และปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์อาหารเสริมในกรุงเทพมหานคร. สยามวิชาการ, 24(1). 22-34.

พิชนิกา มาสุข, ลลิตพรรณ ปัญญานาค, ธมนวรรณ ป้อมสนาม และ วรญา โรจนาปภาพร. (2566). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อความพึงพอใจในการสั่งซื้อสินค้าจากประเทศจีนผ่านช่องทางออนไลน์ของผู้ซื้อรายย่อยในเขตเทศบาลเมืองนครราชสีมา. วารสารสหวิทยาการสังคมศาสตร์และการสื่อสาร, 6(3), 183-194.

รัฐธรรมนูญ โมลาแสง และ ณัฎฐธิดา ตรงดี. (2566). ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการใช้บริการโรงอาหารภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 3(1), 69-76.

วราภรณ์ ด่านศิริ และ ชัชวาล สิทธิวงษ์. (2566). นวัตกรรมการบริการและผลประโยชน์เชิงสัมพันธ์ของแอปพลิเคชันจัดส่งอาหารที่ส่งผลต่อความภักดีโดยผ่านความพึงพอใจของลูกค้า. วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 10(1), 84-107.

สุรพงษ์ คงสัตย์ และ ธีรชาติ ธรรมวงค์. (2551). การหาค่าความเที่ยงตรงของแบบสอบถาม (IOC). https://www.mcu.ac.th/article/detail/14329

อสมา จุฑาธิปัตย์. (2566). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดและการรับรู้คุณค่าที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้ออาหารจากพืชของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. Procedia of Multidisciplinary Research, 1(7), 79-93.

อารีญา มินศรี และ มะดาโอะ สุหลง. (2566). กลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาล. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 10(2), 205-219.

อิราวัฒน์ ชมระกา, ศิริกานดา แหยมคง, กิ่งดาว จินดาเทวิน และสมเกียรติ จิระวงศ์เสถียร. (2565). พฤติกรรมผู้บริโภคและปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อลองกองจังหวัดอุตรดิตถ์. วารสารบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 4(1), 57-76.

Nunnally, J. C. (1978). Psychometric: Theory. (2nd ed). McGrow-Hill.

Tavakol, M., & Dennick, R. (2011). Making sense of Cronbach's alpha. International journal of medical education, 2, 53.

Kelley, K., Clark, B., Brown, V., & Sitzia, J. (2003). Good practice in the conduct and reporting of survey research. International Journal for Quality in Health Care, 15(3), 261-266.

Kothari, C. R. (2004). Research methodology. New Age.

Yamane, T. (1973). Statistics: An introductory analysis. Harper & Row

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-05-29

How to Cite

อำภา อ., โสมาลีย์ ช., สุจริต ช., & คเชนทร์ภักดี น. (2024). การศึกษาส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อความพึงพอใจต่อการซื้ออาหารทะเลแห้ง ของผู้บริโภคในประเทศไทย. Maejo Business Review, 6(1), 20–43. https://doi.org/10.14456/mbr.2024.2